【节日导读】彩车拉佛巡游节主要流行于泰国南部,尤其是那空是贪玛叻府一带,举办时间为每年解夏节的后面一天,即泰国阴历十一月十六日。该节信仰来源于印度佛教文化中,佛陀七年苦修悟道成佛,并请七部经文和完成初次论法的故事。每年十一月十五日是泰国解夏节,是佛祖通过金梯、银梯、水晶梯返回人间开始普渡众生的日子。十一月十六日早上,佛教教徒们就拿着食物和鲜花敬献佛祖,但因人数众多,人们不能亲手把食物和鲜花送给佛祖,为了表达对佛祖的忠诚,信徒们就用装有食物和用鲜花点缀的彩车载着代表佛祖的佛像巡游到每一个街道和村庄,表示佛祖亲身接受信徒的食物和鲜花。现在,彩车拉佛巡游的方式有两类,即陆地上用汽车和水里用彩船拉。彩车拉佛巡游节对泰国社会有着重要的意义,一是表达对佛教的支持、促进以及对佛祖的纪念;二是对泰国农业社会有着促进作用,人们认为彩车拉佛,可以祈求风调雨顺,农业得到丰收,是佛教信仰和农业生活方式的有机融合;三是增加娱乐性及民族凝聚性和团结性;四是拉动经济消费,寺院可从活动中获得资金,用于维修扩建;五是年轻人可以利用空闲时间到寺院里听经做功德,提高年轻人的佛教意识,使他们远离城市的喧嚣、生活的烦恼,减轻生活的压力。彩车拉佛巡游节是泰国传承千年的重要佛教节日,对泰国文化尤为重要,是泰国人认为值得传承和发扬的节日。
เทศกาลลากพระ
ประวัติความเป็นมา
ประเพณีลากพระหรือชักพระเป็นประเพณีท้องถิ่นของชาวใต้ที่ยึดถือปฏิบัติกันมาอย่างยาวนานมาตั้งแต่สมัยศรีวิชัย ซึ่งเป็นประเพณีที่สืบเนื่องด้วยพุทธศาสนาซึ่งจะมีขึ้นหลังวันปวารณาหรือวันออกพรรษาแล้ว ๑ วัน คือตรงกับวันแรม ๑ ่า เดือน ๑๑ โดยการที่พุทธศาสนิกชนพร้อมใจกันอาราธนาพระพุทธรูปขึ้นประดิษฐานบนบุษบกที่วางอยู่บนพาหนะ เช่น เรือ รถ หรือล้อเลื่อน ที่เรียกว่า “พนมพระ” แล้วพากันแห่แหนชักลากไปตามถนนหนทางหรือาคลองโดยสันนิษฐานว่าได้เกิดมีขึ้นครั้งแรกในประเทศอินเดียด้วยสืบเนื่องจากการที่มีธรรมเนียมนิยมาเอาเทวรูป เช่น พระอิศวร พระนารายณ ออกแห่แหนในโอกาสต่าง ๆ เพื่อความเป็นสิริมงคลและานวยอวยพรให้อยู่เย็นเป็นสุข ต่อมาพุทธศาสนาได้าเอาคติความเชื่อดังกล่าวมาปรับปรุงและเปลี่ยนแปลงให้สอดคล้องกับมิติความเชื่อของพุทธศาสนา และเมื่อกาลที่พุทธศาสนาได้เผยแพร่ถึงภาคใต้ของประเทศไทย จึงได้าประเพณีลากพระหรือชักพระเข้ามาด้วย ประเพณีลากพระหรือชักพระมีความเป็นมาที่เล่ากันเป็นเชิงพุทธานานว่า หลังจากพระพุทธองค์ทรงออกผนวชได้ ๗ พรรษา และในพรรษาที่ ๗ นั้น ทรงกระายมกปาฏิหาริย์ปราบเดียรถีย์ ณ ป่ามะม่วง กรุงสาวัตถี แล้วได้เสร็จไปาพรรษา ณ ดาวดึงส์ เพื่อโปรดพุทธมารดา ซึ่งขณะนั้นทรงจุติเป็นมหามายาเทพสถิตอยู่ ณ ดุสิตเทพพิภพตลอดพรรษา พระพุทธองค์ทรงประกาศพระคุณของมารดาแก่เทวสมาคมและแสดงพระอภิธรรมโปรดพุทธมารดา ๗ คัมภีร์ จนพระมหามายาเทพและเทพยดาในเทวสมาคมบรรลุโสดาบันทั้งหมด เมื่อถึงวันขึ้น ๑๕ ่า เดือน ๑๑ อันเป็นวันสุดท้ายของพรรษา พระพุทธองค์ได้เสด็จกลับมนุษยโลกทางบันไดทิพย์ที่พระอินทร์นิมิตถวาย บันไดนี้ทอดจากภูเขาสิเนนุราชที่ตั้งสวรรค์ ชั้นดุสิตมายังประตูนครสังกัสสะ ประกอบด้วยบันไดทอง บันไดเงินและบันไดแก้ว บันไดทองนั้นาหรับเทพยดามาส่งเสด็จอยู่เบื้องขวาของพระพุทธองค์ บันไดเงินาหรับพรหมมาส่งเสด็จอยู่เบื้องซ้ายของพระพุทธองค์และบันไดแก้วาหรับพระพุทธองค์อยู่ตรงกลาง เมื่อพระพุทธองค์เสด็จมาถึงประตูนครสังกัสสะตอนเช้าตรู่ของวันแรม ๑ ่า เดือน ๑๑ ซึ่งเป็นวันออกพรรษานั้น พุทธศาสนิกชนที่ทราบาหนดการเสด็จกลับของพระพุทธองค์จากพรโมคคัลลานะ ได้มารอรับเสด็จอย่างเนืองแน่นพร้อมกับเตรียมภัตตาหารไปถวายด้วย แต่เนื่องจากพุทธศาสนิกชนที่มารอรับเสด็จมีเป็นานวนมากจึงไม่สามารถจะเข้าไปถวายภัตตาหารถึงพระพุทธองค์ได้ทั่วทุกคน จึงาเป็นที่ต้องเอาภัตตาหารห่อใบไม้ส่งต่อ ๆ กันเข้าไปถวายส่วนคนที่อยู่ไกลออกไปมาก ๆ จะส่งต่อ ๆ กันก็ไม่ทันใจ จึงใช้วิธีห่อภัตตาหารด้วยใบไม้โยนไปบ้างปาบ้าง เข้าไปถวายเป็นที่โกลาหลมาก แต่ก็ถือว่าเป็นการถวายที่ตั้งใจด้วยความบริสุทธิ์ ด้วยแรงอธิษฐานและอภินิหารแห่งพระพุทธองค์ภัตตาหารเหล่านั้นไปตกในบาตรของพระพุทธองค์ทั้งสิ้น เพื่อเป็นการแสดงถึงความปิติยินดี ที่พระพุทธองค์เสด็จกลับจากดาวดึงส์ พุทธศาสนิกชนได้อัญเชิญพระพุทธองค์ขึ้นประทับบนบุษบกที่เตรียมไว้แล้วแห่แหนกันไปยังที่ประทับของพระพุทธองค์ครั้นเลยพุทธกาลมาแล้วและเมื่อมีพระพุทธรูปซึ่งเป็นตัวแทนของพระพุทธองค์ขึ้น พุทธศาสนิกชนจึงาเอาพระพุทธรูปยกแห่แหนสมมติ แทนพระพุทธองค์ ซึ่งจะกระากันในวันแรม ๑ ่า เดือน ๑๑ ของทุกปี สืบมาจนเป็นประเพณีลากพระในปัจจุบัน
ประเพณีลากพระหรือชักพระได้ถ่ายทอดมาถึงประเทศไทยในบริเวณภาคใต้ นับตั้งแต่ครั้งภิกษุชาวจีนชื่ออี้จิงได้จาริกผ่านคาบสมุทรมลายู เพื่อไปศึกษาศาสนาในอินเดียเมื่อปี พ.ศ.๒๑๑๔-๑๒๓๘ ก็ได้เห็นประเพณีการลากพระของชาวเมือง “โฮลิง” อันเป็นชื่อเดิมของเมืองนครศรีธรรมราช จึงได้บันทึกไว้ว่า “พระพุทธรูปศักดิ์สิทธิ์องค์หนึ่งมีคนแห่แหนามาจากวัด โดยประดิษฐานจากรถหรือบนแคร่มีพระสงฆ์และฆราวาสหมู่ใหญ่แวดล้อมมา มีการตีกลองและบรรเลงดนตรีต่าง ๆ มีการถวายของหอมดอกไม้ และถือธงชนิดต่าง ๆ ที่ทอแสงในกลางแดด พระพุทธรูปเสด็จไปสู่หมู่บ้านด้วยวิธีดังกล่าวนี้ ภายใต้เพดากว้างขวาง จากหลักฐานในจดหมายเหตุของภิกษุอี้จิงนี้ าให้นักวิชาการบางคนเชื่อว่าประเพณีลากพระในภาคใต้มีมาแล้วตั้งแต่สมัยศรีวิชัยประเพณีลากพระของชาวใต้สมัยกรุงศรีอยุธยา เห็นว่าเป็นประเพณีที่ทั้งสถาบันศาสนาและสถาบันกษัตริย์ถือเป็นเรื่องาคัญยิ่ง ดังปรากฏในเรื่องประทวนตราให้แก่พระครูอินทร์โมลี คณะป่าแก้ว หัวเมืองพัทลุงในปี พ.ศ.๒๒๔๒ ว่า “แลเมื่อครั้งคณะป่าแก้วแต่ก่อนมีพระครูอันดับ ๖ องค์ ได้ช่วยการพระราชพิธีตรุศสารทแลงานลากพระถวายพระราชกุศล” และข้ออีกตอนหนึ่งว่า “แลราชการซึ่งเป็นพนัดแก่ขุนหมื่นกรมคณะป่าแก้วมีแต่หน้าที่เมืองเส้นหนึ่งแลการพระราชพิธีตรุษสารทแลงานลากพระเจ้าเมืองจะได้เบียดเสียดเอาข้าพระไปใช้ราชการนอกแต่นั้นหามิได้” เมืองนครศรีธรรมราชปลายสมัย กรุงศรีอยุธยาในรัชกาลพระเจ้าอยู่บรมโกศ แม้แต่ผู้ตีกลองในงานลากพระก็ถือว่าาคัญ จึงมีแจ้งไว้ในาเนียบข้าราชการตกเป็นพระอัยการไว้ว่า “ขุนรันไภรีถือศักดินา ๒๐๐ พนักงานตีกลองแห่พระ” าแหน่งนี้มีมาจนถึงสมัยกรุงรัตนโกสินทร์ ดังปรากฏในาเนียบข้าราชการเมืองนครศรีธรรมราช ครั้งรัชกาลที่ ๒ ว่า “ขุนรันไภรีถือศักดินา ๒๐๐ พนักงานตีกลองแห่พระ” และก็ได้ถือปฏิบัติจนกลายเป็นประเพณีสืบมาจนถึงปัจจุบัน ชาวใต้มีความเชื่อว่าการลากพระจะาให้ฝนตกต้องตามฤดูกาลหรือเป็นการขอฝน เพราะผู้ประกอบพิธีส่วนใหญ่มีอาชีพเกษตรกรรม ประเพณีลากพระก่อให้เกิดวัฒนธรรมอื่น ๆ สืบเนื่องหลายอย่าง เช่น ประเพณีการแข่งขันเรือพาย การประชันโพนหรือแข่งโพน กีฬาซัดต้ม การาต้มย่าง การเล่นเพลงเรือ เป็นต้น นอกจากนั้นประเพณีชักพระยังก่อให้เกิดการรวมกลุ่มกันาคุณงามความดี ก่อให้เกิดความสามัคคีธรรมของหมู่คณะาความสุขสงบมาให้สังคม ประเพณีการลากพระเป็นพิธีบุญอย่างหนึ่งของชาวภาคใต้ ที่กระาสืบต่อกันมาตั้งแต่โบราณกาลจนกระทั่งถึงปัจจุบันนี้ ซึ่งมีหลายจังหวัดที่มีการจัดงานอย่างยิ่งใหญ่ เช่น สุราษฎร์ธานี นครศรีธรรมราช สงขลา ปัตตานี เป็นต้น ก่อนถึงวันชักพระ ๑๐-๑๕ วัน ชาวบ้านและพระภิกษุจะช่วยกันจัดเตรียมาเรือพระาหรับที่จะลากกันอย่างหรูหรา ข้างบนาเป็นบุษบกาหรับประดิษฐานพระพุทธรูป ในช่วงเวลาก่อนถึงวันชักพระประมาณ ๓ วัน จะมีการคุมโพนหรือคุมพระ ซึ่งก็คือการประโคม ฆ้อง กลอง และตะโพน เพื่อเป็นการซ้อมหรืออุ่นเครื่องและสร้างบรรยากาศอันคึกคักให้ชาวบ้าน ได้เตรียมตัวาหรับกาลอันาคัญนี้ ประเพณีลากพระหรือชักพระของแต่ละจังหวัดในภาคใต้ซึ่งจะมีเอกลักษณ์เป็นของตนเองเฉพาะ เช่น การชักพระทางาที่โด่งดังและมีชื่อเสียงก็อยู่ที่าเภอกระบุรี จังหวัดระนอง าเภอหลังสวน จังหวัดชุมพร าเภอพุนพินและาเภอเมือง จังหวัดสุราษฎร์ธานี าเภอปากพนัง จังหวัดนครศรีธรรมราช หรือาเภอระโนด จังหวัดสงขลา เป็นต้น การชักพระในสมัยก่อนส่วนใหญ่จะเป็นทางาโดยที่ชาวบ้านจะมีการอัญเชิญพระพุทธรูปปางอุ้มบาตร มาประดิษฐานบนเรือพระจากนั้นก็ค่อย ๆ ลากและแห่ไปตามแม่า าคลองซึ่งจะผ่านชุมชนและบ้านเรือนที่ตั้งอยู่ตามแม่าาคลอง แต่การชักพระทางาแบบนี้ชาวบ้านส่วนมากจะไม่สามารถเข้าใกล้เรือพระได้ใกล้ ๆ ซึ่งเวลาต้องการาบุญด้วยอาหารหวานคาวก็จะค่อนข้างาบากจึงได้ใช้ขนมต้มหรือขนมปัด (ขนมชนิดหนึ่งาด้วยข้าวเหนียวและห่อด้วยใบพ้อหรือใบลาน) โดยใช้วิธีการปาหรือขวางไปหรือที่ชาวปักษ์ใต้เรียกว่า "ซัดต้ม” หรือ "ซัดปัด" ต่อมาได้กลายเป็นประเพณี "ห่อต้ม" "ห่อปัด"
ภาพที่ ๑ ประเพณีลากพระ าเภอชะอวด จังหวัดนครศรีธรรมราช
ประเพณีลากพระหรือชักพระในปัจจุบันนั้นได้แปรเปลี่ยนไปตามยุคสมัยและกาลเวลา เพราะเรือพระทุกวันนี้ส่วนใหญ่นิยมใช้รถยนต์ (กระบะ) ตกแต่งด้วยโฟมแกะสลักเป็นลวดลายไทย สีสันสวยงาม แต่ก็มีบางพื้นที่ยังคงใช้รูปแบบโบราณคือใช้คนลากเรือพระไปตามเส้นทาง เช่น ที่วัดมะม่วงหมู่ และขณะที่ลากเรือพระไปใครจะมาร่วมาบุญด้วยการแขวนต้มบูชาพระหรือร่วมลากตอนไหนก็ได้ เกือบทุกท้องถิ่นาหนดให้มีจุดนัดหมายเพื่อให้บรรดาเรือพระทั้งหมดในละแวกใกล้เคียงไปชุมนุมรวมตัวในที่เดียวกันในเวลาก่อนพระฉันเพลให้พุทธศาสนิกชนได้มีโอกาส "แขวนต้ม" และถวายภัตตาหารแก่พระภิกษุสามเณรได้ทั่วทุกวัดหรือมากที่สุดเท่าที่จะาได้ โอกาสนี้จึงก่อให้เกิดการประกวดประชันกันขึ้นโดยปริยาย เช่น การประกวดเรือพระ การแข่งขันเรือพาย การเล่นเรือโต้แก้ากัด การประกวดเรือเพรียวประเภทต่าง ๆ เช่น มีฝีพายมากที่สุด แต่งตัวสวยงามที่สุดหรือตลกขบขัน การประกวดเรือพระสมัยก่อนรางวัลที่ได้ก็มี เช่น ามันก๊าด กาา ถ้วยชาม สบง จีวร เพราะเป็นสิ่งาเป็นแต่ปัจจุบันรางวัลจะให้เป็นเงินสด
ประเภทของการลากพระ
การลากพระหรือชกัพระในปัจจุบนัที่ปฏิบตัิกนัมี ๒ แบบคือ
๑.ลากพระา การลากพระทางาหรือทางเรือเรียกว่า “เรือพระ” โดยการเอาเรือหลาย ๆ า มาเทียบเรียงขนานผกูติดกนัเป็นแพขนาดใหญ่แล้วอัญเชิญพระพุทธรูปปางอุ้มบาตรขึน้ประดิษฐานบนบษุบก ที่ประดบัตกแตง่อย่างประสาทมณฑปอย่างวิจิตร แลว้แห่แหนโดยมีการตีโพน กลอง ระฆงั ไปตามแม่าาคลองหรือทะเลสาบ ซึ่งการลากพระทางานีจ้ะสนุกสนานกว่าการลากพระทางบกเพราะสภาพพืน้ที่เอือ้านวยต่อการจดักิจกรรมอ่ืน ๆ เช่น สะดวกในการชักลาก การแข่งพายเรือ การแย่งเรือพระ หรือการเล่นเพลงเรือ เป็นตน้ ดว้ยเหตนุีถ้า้ทอ้งถิ่นในสภาพภูมิประเทศเอือ้านวยใหส้ามารถาได้ทงั้ทางบกและทางา ทอ้งถ่ินนัน้มักจะเลือกลากพระา จังหวัดที่มีช่ือเสียงเกี่ยวกับประเพณีลากพระาอย่างย่ิงคือท่ีาเภอกระบุรี จงัหวดัระนอง าเภอหลงัสวน จงัหวดัชมุพร าเภอพนุพิน และาเภอเมืองสุราษฎร์ธานี จังหวัดสุราษฎร์ธานี าเภอปากพนัง จังหวัดนครศรีธรรมราช รองลงมาาเภอระโนด จังหวดัสงขลา าเภอปากพะยูน จงัหวดัพทัลุง บา้นแหลมโพธิ์ าเภอหาดใหญ่ จังหวดัสงขลา โดยเฉพาะาเภอหลงัสวนและที่บา้นแหลมโพธ์ิ าเภอหาดใหญ่ จะมีการเล่นเพลงเรือที่ขึน้ชื่อกว่าแหล่งอื่น ๆ ส่วนท่ีาเภอปากพนังมีการเล่น “ซดัหลุม” (ซัดโคลน) กันสนุกสนานเพราะท่ีปากพนังมีโคลนตมมาก การลากพระทางาของเกาะพะงัน จงัหวัดสุราษฎรธ์านี แปลกกว่าที่อ่ืน ๆ คือจะลากกัน ๓ วัน ระหว่างแรม ๘ า ถึงแรม ๑๐ า เดือน ๑๑ มีการปาสาหร่ายโตต้อบกนัระหว่างหนมุ่สาวมีการเล่นเพลง เรือและที่แปลกพิเศษคือมีการทอดผา้ป่าสามคัคีในวนัเริ่มงาน
ภาพที่ ๒ ลากพระา
๒.ลากพระบก การลากพระทางบกหรือทางรถเรียกว่า “รถพระ” ในสมยัโบราณนิยมใชล้อ้เลื่อน เรือพระจึงหนกัตอ้งอาศยัคนลากเป็นานวนมากจึงตอ้งมีเชือกลากเป็น ๒ เสน้ โดยท่ีเสน้หนึ่งาหรบัผูห้ญิงอีกเส้นหนึ่งาหรับผู้ชาย รถพระหรือเรือพระ คือเรือหรือรถ หรือล้อเลื่อนที่ประดิษฐ์ตกแต่งให้เป็นรูปเรือแล้ววางบุษบกซึ่งบุษบกนี้เรียกตามภาษาพืน้เมืองภาคใตว้่า “นม” หรือ “นมพระ” ยอดบุษบก เรียกว่า “ยอดนม” ใชส้าหรบัประดิษฐานพระพทุธรูป สมยัก่อนจะาเป็นรูปเรือใหค้ลา้ยเรือจริงมากท่ีสุด และจะตอ้งพยายามใหม้ีาหนักนอ้ยที่สุด การาจะใชไ้มไ้ผ่สานหรือเสื่อกระจูดมาตกแต่งตรงส่วนที่เป็นแคมเรือและหัวทา้ยเรือคงาใหแ้น่นหนา เฉพาะส่วนพืน้เพื่อน่ังและวางบษุบกกบัส่วนที่จะผูกเชือกชกัลากเท่านนั้ แลว้ใส่ลอ้หรือเล่ือนท่ีาขึน้จากไม ้๔ เหล่ียมขนาดใหญ่ ๒ ท่อน รองรบัขา้งล่างเพ่ือใหช้ักลากเรือพระไปไดส้ะดวก ไม ้๒ ท่อนนี ้ ทางดา้นหัวและท้ายางอนคลา้ยหัวและทา้ยเรือแล้วตกแต่งเป็นรูปตัวพญานาค อาจาเป็น ๑ ตัว หรือมากกว่าก็ได ้ใช้กระดาษสีเงินสีทองหรือกระดาษสีสะท้อนแสงาเป็นเกล็ดนาค ซ่ึงจะาให้สะท้อนแสงระยิบระยับไปทั้งา ส่วนกลางาตวัพญานาคาเป็นรา้นสูงขึน้ราว ๑.๕๐ เมตร เรียกว่า “รา้นมา้” าหรับวางส่วนาคญัที่สุดของเรือพระ คือบุษบกหรือนมพระ ซึ่งนายช่างแต่ละท้องถ่ินจะมีเทคนิคในการออกแบบบุษบก เพ่ือใหเ้หมาะสมทงั้ลวดลายและรูปร่าง มีการประดิดประดอยอย่างสุดฝีมือหลังคาบุษบกนิยมาเป็นรูปจัตุรมุขหรือาเป็นจัตุรมุขซ้อน รูปทรงชะลดูงามสง่าสะดดุตา ตกแตง่ดว้ยหางหงส ์ช่อฟ้า ใบระกา ตวัายอง กระจงัฐานพระ บวัปลายเสา คนัทวย เป็นตน้ การลากพระบกก็คลา้ยกับการลากพระา เวลาลากเรือพระผ่านไปตามเสน้ทางของหมบู่า้น และเม่ือผา่นหนา้บา้นของใครคนที่อย่ใูนบา้นจะมาช่วยกันมาลากพระไปจนไกลพอสมควรแล้วก็จะมีคนจากบ้านอื่นมารับช่วงต่อไปอย่างนี้ไม่ขาดสาย บนเรือเรือพระศิษย์วัดก็จะตีโพนตีฆ้อง หรือระฆังเพื่อให้จังหวะและเพื่อความสนุกสนานในการลากเรือพระ คนลากจะเบียดเสียดกันสนุกสนานและประสานเสียงร้องบทลากพระ ทั้งนี้เพื่อเป็นการผ่อนแรงไปในตัวด้วย ตัวอย่างเพลงที่ร้องกัน…
คนร้องา : อีสาระพา
ลูกคู่รับ : เฮโล เฮโล อีสาระพา
ลูกคู่รับ : เฮโล เฮโล
คนร้องา : อะไรกลมกลม
ลูกคู่รับ : หัวนมสาวสาว สาวสาวไม่มา
ลูกคู่รับ : ลากพระไม่ไป
คนร้องา : อะไรยาวยาว
ลูกคู่รับ : กล้วยไล (หัวโต) กล้วยไล สาวสาวพุงใหญ่
ลูกคู่รับ : ช่วยกันผลัก
ภาพที่ ๓ ลากพระบก
ความาคัญประเพณีลากพระ
ประเพณีลากพระหรือชักพระ เป็นการแสดงออกถึงความพร้อมเพรียง ความสามัคคีพร้อมใจในการาบุญ ซึ่งมีความาคัญหลายประการ คือ(www.xing528.com)
๑.เป็นการสืบสานประเพณีอันดีงามซึ่งได้รับการถ่ายทอดมาจากบรรพบุรุษ และถือเป็นการต่ออายุพระศาสนาให้อยู่คู่คนไทยเพราะการลากพระเป็นการแสดงออกถึงการระลึกถึงพระพุทธองค์
๒.เป็นประเพณีที่ให้ความาคัญกับสังคมเกษตรกรรม ด้วยความเชื่อที่ว่าอานิสงส์ของการลากพระ จะาให้ฝนตกต้องตามฤดูกาล การาบุญเพื่อให้ฝนตกจึงเป็นที่ ปรารถนาอย่างยิ่ง การลากพระแสดงออกให้เห็นความสัมพันธ์ระหว่างประเพณีกับวิถี ชีวิตของคนในสังคมเกษตรกรรม เป็นการปฏิบัติตามความเชื่อที่ว่าการาบุญจะส่งผลให้ผู้ที่าได้รับบุญกุศลประสบความาเร็จในชีวิต
๓.เกิดความสนุกสนาน เพราะในการลากพระชาวบ้านจะแต่งบทร้อยกรองาหรับใช้ในการขับร้องในขณะที่ช่วยลากพระ ซึ่งส่วนใหญ่จะเป็นบทกลอนสั้นๆ ที่ตลกขบขันและมีโต้ตอบกันาให้การลากพระมีรสชาติที่สนุกสนานและเป็นการผ่อนแรงในการลากพระไปในตัวด้วย
๔.เป็นการเสริมสร้างให้เกิดความรักสามัคคีกันของคนในชุมชน และเป็นศูนย์รวมาใจไมตรี าให้คนในชุมชนรู้จกัการเสียสละกิจส่วนตนเพื่อส่วนรวม าให้เกิดการเรียนรู้เกี่ยวกับการางานเป็นทีม
๕.าให้เกิดมูลค่าเพิ่มทางเศรษฐกิจเนื่องจากได้มีการส่งเสริมให้เป็นประเพณีประาจังหวัด าให้มีนักท่องเที่ยวทั้งชาวไทยและต่างประเทศเดินทางมาท่องเที่ยว ส่งผลให้เกิดการหมุนเวียนทางเศรษฐกิจ
๖.วดัไดม้ีทุนจาการาบุญของผทู้ี่มาชมประเพณีลากพระ เพ่ือามาใชใ้นการบรูณะและทะนบุารุง ศาสนาสถานตอ่ไป
๗.เยาวชนและคนรุน่ใหม่ไดใ้ชเ้วลาว่างในการเขา้วดั าบุญฟังธรรม าให้ห่างไกลจากอบายมุข ตลอดถึงลูกหลานได้มีโอกาสแสดงออกถึงความกตัญญูรู้คุณต่อบุพการี อันเนื่องจากเม่ือถึงประเพณีลากพระ ทุกคนจะตอ้งเดินทางกลับมายังบา้นเกิดเพื่อร่วมประเพณีลากพระในทุก ๆ ปี
เอกสารอ้างอิง
มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์.(๒๕๖๑).ประเพณีลากพระ (Traditional Lak Phra).สืบค้น ๒๐ มิถุนายน ๒๕๖๓, จาก https://clib.psu.ac.th/southerninfo/content/1/6b251def
词汇
ปวารณา(ปะ-วา-ระ-ณา)贡品 แหน围绕
จุติ(จุ-ติ)移动、死亡、下凡
มายา神圣的、永恒的
ผนวด(ผะ-หนวด)剃发为僧
ฆรสวาส(คะ-รา-วาด)佛教徒
โพน猛跳
อาราธนา(อา-ราด-ทะ-นา)要求、祈求
ปาฏิหาริย์双神道、双神变
พนม合十、双手合十
แคร่担架、架子
ซัดต้ม 撒东
ทอแสง 耀眼
免责声明:以上内容源自网络,版权归原作者所有,如有侵犯您的原创版权请告知,我们将尽快删除相关内容。