【节日导读】莲花收获节是泰国中部北榄府挽披县的传统节日,每年举办的时间是泰国阴历十一月十五日,即解夏节。根据史料记载,有三点证据可以证明北榄府挽披县是全世界唯一举办莲花收获节仪式的地方,这一大型活动举办至今已有96年的历史。北榄府挽披县由泰国原住民、缅甸孟族移民、老挝移民交错而居,人民自古生活在神龙运河边,每年的解夏节时班布里压寺院会举行佛教活动,附近的善信们纷纷聚集于此供奉龙婆多大师,莲花收获节因此应运而生。寺庙会将龙婆多大师的佛像放置在一艘船上,沿着神龙运河划去,等候在河两岸的善信们会将莲花向船中扔去,以祈求好运。人们认为如果能将莲花扔进船中,许下的愿望就会实现,但是,如果扔不进就一定要接着扔直到扔进去为止,不然所许的愿望就不会实现。莲花收获节的主要仪式是把莲花扔进载有龙婆多大师的船里,被扔进船里的莲花将被制作成香料供奉佛像或者被善信们带回家供奉自家的佛像。现在的莲花收获节主要偏向于娱乐性,除了扔莲花仪式,还有赛龙舟活动、歌舞表演活动,有时候会为了拉动旅游经济而将扔莲花的仪式提前到每年的十一月十三日,后面2—3天举行赛船等娱乐活动。莲花收获节已经被泰国政府列为国家级非物质文化遗产。
เทศกาลรับบัว
ประวัติความเป็นมา
ประเพณีรบับวัเป็นประเพณีเก่าแก่สืบทอดกันมาแต่โบราณของชาวาเภอบางพลี จงัหวดัสมทุรปราการ โดยจดังานทุกวนัขึน้ ๑๔า เดือน ๑๑ของทกุปี โดยในสมยัก่อน าเภอบางพลี มีประชาชนอาศยัอยู่แบ่งเป็น ๓กลุ่ม คือ คนไทย คนลาว และคนรามญั(ชาวมอญพระประแดง) ทุกกลุ่มชนต่างามาหากินและอยู่ร่วมกันอย่างอบอุ่นเสมือนญาติมิตร
ประเพณีรบับวั เกิดขึน้เพราะความมีาใจที่ดีต่อกันระหว่างคนในท้องถ่ินกับคนมอญพระประแดง ซ่ึงานาอยู่ท่ีาบลบางแก้ว ในช่วงออกพรรษาจะกลับไปาบุญที่าเภอพระประแดง ได้เก็บดอกบวั เพ่ือบูชาพระหรือถวายแด่พระสงฆแ์ละฝากเพื่อนบา้น ในปีต่อมาชาวาเภอเมืองและชาวาเภอพระประแดง ต่างพรอ้มใจกันพายเรือมาเก็บดอกบวัที่าเภอบางพลีและถือเป็นโอกาสอันดีในการนมสัการองคห์ลวงพ่อโต อีกทงั้ระยะทางระหว่างท่ีาเภอพระประแดงกับาเภอบางพลีไกลกันมากเพ่ือใหเ้กิดความสนุกสนานเพลิดเพลินเรือแตล่ะาจะรอ้งาาเพลงมาตลอดเสน้ทาง
าหรบัการแห่หลวงพ่อโตทางาในประเพณีรบับัวที่เห็นกันอยู่ทกุวนันี ้สืบเน่ืองจาก พ .ศ.๒๔๖๗นางจ่นักบัพวกชาวบางพลี ไดร้ว่ม สรา้งองคป์ฐมเจดีย ์ณ วดับางพลีใหญ่ในและจดังานเฉลิมฉลองโดยแหผ่า้หม่องคพ์ระปฐมเจดียแ์ละวิวฒันาการมาเป็นแห่องคห์ลวงพ่อโตาลองอัญเชิญไปตามาคลองาโรงเพื่อให้ประชาชนได้นมัสการ ดอกไมท้ี่ใชน้มสัการคือ ”ดอกบวั“
ภาพที่๑ประเพณีรับบัวาเภอบางพลีจังหวัดสมุทรปราการ
ความาคัญของประเพณีรับบัว
ประเพณีรับบัวเป็นประเพณีประาท้องถิ่น ของชาวาเภอบางพลีจังหวัดสมุทรปราการซึ่งเป็นประเพณีเก่าแก่ที่สืบทอดมาแต่โบราณ โดยมิได้ปรากฏหลักฐานว่ามีมาแต่ยุคใดสมัยใด ประเพณีรับบัวนี้ มีข้อสันนิษฐานความเป็นมาได้ ๓ ประการ
ประการแรก ในสมัยก่อนในแถบาเภอบางพลี มีประชากรอาศยัอยู่ ๓ พวกคือ คนไทย รามญั และลาว แต่ละพวกจะมีหัวหน้าคอยควบคมุดแูลและามาหากินในอาชีพต่าง ๆ กัน ซ่ึงชาวรามญัในสมยันนั้จะขดุบ่อเลีย้งปลาเป็นอาชีพต่อมาทงั้คนไทย รามญัและลาว ทั้ง ๓ พวกก็ปรึกษาหารือกันว่าสมควรจะช่วยกันหักล้างถางพงให้กวา้งขวางยิ่งขึน้เพ่ือาไร่าสวนต่อไป บริเวณนีแ้ต่ก่อนเต็มไปดว้ยป่าพงออ้ พงแขมและไมน้านาชนิดขึน้เต็มไปหมด ฝ่ังทางตอนใตข้องคลองาโรงก็เต็มไปด้วยป่าแสม าก็เป็นาเค็มซึ่งเต็มไปด้วยอันตรายจากสัตว์ร้ายนานาชนิดทางฝ่ังตอนเหนือก็เต็มไปด้วยบึงขนาดใหญ่ ภายในบงึแตล่ะบึงก็อดุมสมบรูณไ์ปดว้ยบวัหลวงมากมาย พวกคนไทย รามญัและลาว ก็พยายามหักลา้งถางพงเร่ือยมาจนถึงทางแยก ๓ ทางคือ ทาง ทิศตะวันตกเฉียงเหนือเป็นคลองสลุด ทางเหนือเป็นคลองชวดลากข้าวและทางทิศตะวันออกเฉียงเหนือเป็นคลองลาดกระบงั คนทงั้ ๓ พวกก็ตกลงกันว่าควรจะแยกยา้ยกันามาหากินคนละทางจะดีกว่าเพ่ือท่ีจะไดรู้ภู้มิประเทศว่าดา้นไหนจะามาหากินไดค้ล่องดีกว่ากัน เมื่อตกลงดงันนั้แล้วจึงแยกทางกันไปามาหากิน โดยพวกลาวไปทางคลองสลุด ไทยไปทางคลองชวดลากข้าว พวกรามัญไปทางคลองลาดกระบัง พวกรามัญามาหากินอยู่ประมาณ ๒ ๓ ปี ก็ไม่ไดผ้ลเพราะนก หนู ชุกชุมรบกวนพืชผลต่าง ๆจนเสียหายมากมาย เม่ือามาหากินไม่ไดผ้ล พวกรามัญก็ปรึกษาเตรียมตัวอพยพกลับถ่ินเดิมท่ีปากลัด เร่ิมอพยพ (พระประแดง)กันใตอนเชา้มืดของ ขึน้ ๑๔ า เดือน ๑๑ก่อนไปก็ไดไ้ปเก็บดอกบัวในบงึบริเวณนีม้ากมาย คนไทยที่คนุ้เคยกับพวกรามญัก็ไต่ถามว่าเก็บดอกบวัไปาไมมากมายเพียงนีพ้วกรามัญบอกว่าจะเอาไปบูชาพระคาถาก็พนั(เทศนม์หาชาติ)ที่ปากลดั และไดส้่งัเสียกับคนไทยท่ีรกัและสนิทสนมชิดชอบว่าในปีตอ่มาเมื่อถึง ขึน้ ๑๔ า เดือน ๑๑ใหช้่วยเก็บดอกบวัรวบรวมไวท้่ีวดัหลวงพ่อโตนีด้ว้ยพวกตนจะมารบั ดว้ยนิสยัคนไทยนัน้ชอบโอบอ้อมอารีรักพวกพอ้งจึงตอบตกลง จากนัน้พวกชาวรามัญก็นมัสการหลวงพ่อโตพรอ้มทั้งขอามนตห์ลวงพ่อโตไปเพ่ือเป็นศิริมงคลและลากลับถิ่นฐานเดิมที่ปากลัดและาดอกบัวไปบูชา พระคาถาพนัปีต่อมาพอถึงาหนด ขึน้ ๑๔ า เดือน ๑๑ คนไทยบางพลีก็รวบรวมดอกบวัไวท้ี่วดับางพลีใหญ่ตามาขอรอ้งของชาวรามญั พวกชาวรามญัก็จะมารบัดอกบัวทุกปี การมาจะมาในเวลากลางคืน มาโดยเรือขนาดจุ ๕๐-๖๐ คน จะมาถึงวัดประมาณตี ๑-๔ ของทุกครงั้ท่ีมาและมีการตีฆอ้งรอ้งเพลงตลอดทางอย่างสนกุสนาน พรอ้ม
ทงั้มีการละเล่นตา่ง ๆ ในเรือ ผทู้ี่คอยตอ้นรบัก็พลอยสนกุสนาน ไปดว้ยไมตรีจิตอนัดีย่ิง คนไทยไดท้าอาหารคาวหวานต่าง ๆ เลีย้ง รบัรองโดยใชศ้าลาวัดเป็นท่ีเลีย้งอาหารกันเมื่ออิ่มหาาราญแลว้ก็าดอกบวัไปมนัสการหลวงพ่อโตจากนนั้ก็าดอกบวักลบัไปบชูาพระ คาถาพนัที่ปากลดั
ประการท่ีสอง ชาวรามญัที่ปากลดั มาานาอย่ ู(พระประแดง) (าบลบางแกว้) ที่าเภอบางพลีซึ่งมีเร่ืองเล่ากันว่าเป็นชาวรามัญท่ีอพยพเข้ามาในประเทศไทย พร้อมกับเจ้าพระยามหาโยธา (เจ่ง คชเสนีย์) ในสมัยกรุงธนบุรี การอพยพของชาวรามัญครั้งนี้เนื่องจากพระเจ้ามังระ คิดจะมาตีกรุงธนบุรีจึงเกณฑ์พวกรามัญซึ่งเป็นเมืองขึ้นของพม่ามาช่วยรบ ชาวรามัญนั้นได้รับการกดขี่ข่มเหงจิตใจถูกฆ่าลูกเมียชาวรามัญจึงกบฏต่อพม่าโดยรวมตัวกันไปตีพม่าแต่สู้พม่าไม่ได้ ก็หนีมาพึ่งพระบรมโพธิสมภารบารมีต่อพระเจ้าตากสินมหาราชและได้าเอาปี่พาทย์มอญเข้ามาด้วยเมื่อปี พ.ศ.๒๓๑๗ ทรงพระกรุณาโปรดเกล้าฯให้พวกรามัญไปตั้งภูมิาเนาที่ปากเกล็ด แขวงนนทบุรี และปากโคก แขวงปทุมธานี ต่อมาในสมัยพระบาทสมเด็จพระพุทธยอดฟ้าจุฬาโลก มหาราชทรงโปรดเกล้าฯให้ย้ายครอบครัวชาวรามัญและพระยาเจ่ง มาอยู่ที่นครเขื่อนขันธ์(พระประแดง) ในปี พ.ศ.๒๓๖๗และต่อมาชาวรามัญได้าความดีความชอบได้รับพระราชทานที่นาที่บางพลี จึงเป็นเหตุให้ชาวรามัญมาานาที่บางพลี ชาวรามัญนั้นจะมาเฉพาะฤดูานา เมื่อเสร็จสิ้นการานาก็จะกลับ ที่ปากลัด เมื่อออกพรรษาชาวปากลัดที่มีเชื้อสายรามัญส่วนใหญ่เป็นผู้เคร่งครัดในพระพุทธศาสนาก็จะกลับไปาบุญที่วัดบ้านของตนเมื่อกลับก็จะไปเก็บดอกบัวที่าบลบางพลีใหญ่ซึ่งมีมากมายในสมัยนั้นไปประกอบ เป็น"ดอกไม้ธูปเทียน"ในการาบุญที่มีการเทศน์คาถาพันส่งท้ายพรรษาครงั้แรกก็เก็บกันเองตอ่มาชาวาเภอบางพลีเห็นว่าชาวรามัญ มาเก็บดอกบวัทุกปี ในปีตอ่ ๆ มาจึงเก็บดอกบวัเตรียมไวใ้หต้ามนิสัยคนไทยที่ชอบเอือ้เฟื้อเผ่ือแผ ่ระยะแรกก็ส่งใหก้ับมือมีการไหวข้อบคณุ ตอ่มาเกิดความคนุ้เคยถา้ใกลก้็ส่งมือต่อมือถา้ไกลก็โยนใหจ้ึง เรียกว่า
"รับบัว โยนบัว"
ภาพที่ ๓ชาวาเภอบางพลีพรอ้มใจถวายดอกบวับูชาองคห์ลวงพ่อโต
ประการที่สาม เดิมที ที่าบลบางพลีใหญ่ เป็นาบลที่มีดอกบัวมาก าเภอต่าง ๆ ที่อยู่ใกล้เคียงเช่น าเภอเมืองสมุทรปราการ าเภอพระประแดง และาเภอต่าง ๆ ที่อยู่ใกล้เคียง เมื่อถึงวาระต้องาเพ็ญกุศลในเทศกาลออกพรรษาก็มาเก็บดอกบัวที่นี่ เพราะถือว่าดอกบัวเป็นดอกไม้ทางพระพุทธศาสนา เช่น พระพุทธเจ้าเวลาประทับนั่งยืน เดิน จะมีดอกบัวรองรับเสมอ อีกประการหนึ่งในเรื่องพระมาลัยได้กล่าวว่ามีชายเข็ญใจคนหนึ่งได้ถวายดอกบัวแก่พระมาลัยยังไปเกิดเป็นเทพบุตรได้ดังนั้นในสมัยโบราณคนจึงนิยมถวายดอกบัวแก่พระในวันออกพรรษาถือว่าได้บุญกุศลแรงมาก ถึงกับลงทุนนอนค้างอ้างแรมยังาบลนี้เพื่อเก็บดอกบัว ในสมัยแรกๆ คงเที่ยวหาเก็บกันเอง แต่ในสมัยต่อมาชาวบางพลีก็จะเตรียมเก็บไว้เพื่อเป็นการากุศลร่วมกันเท่านั้น(www.xing528.com)
พิธีกรรม
พอถึงวันขึ้น ๑๓ ่า เดือน ๑๑ ตั้งแต่ตอนเย็นชาวาเภอเมืองสมุทรปราการ ชาวพระประแดง และชาวต่างถิ่นจะชักชวนพวกพ้องเพื่อนฝูงลงเรือพร้อมด้วยเครื่องดนตรีนานาชนิดเช่น ซอ ปี่ กระจับ โทน ามะนา โหม่ง กรับ ฉิ่ง ฉาบ เป็นต้น พายกันไปร้องาาเพลงกันไปตลอดทาง ตลอดคืน ซึ่งบางพวกจะผ่านมาทางาาเจ้าพระยา บางพวกจะผ่านมาทางาคลองอื่น ๆ เข้าคลองาโรงและมุ่งหน้ามายังหมู่บ้านบางพลีใหญ่ าหรับชาวบางพลีนั้นจะถือปฏิบัติกันเป็นประเพณีว่าเมื่อถึงวันขึ้น ๑๓ ่า เดือน ๑๑ ก็จะต้องเตรียมหาดอกบัวหลวง าหรับมอบให้แก่ชาวบ้านที่ต้องการและมิตรต่างถิ่นมาเยือนในโอกาสเช่นนี้ ก็คงแสดงมิตรจิตออกต้อนรับ จัดหาสุราอาหารมาเลี้ยงดูกันตั้งแต่ตอน่าของวันขึ้น ๑๓ ่า เดือน ๑๑ ส่วนพวกที่มารับบัว คนใดรู้จักมักคุ้นกับชาวบางพลีผู้เป็นเจ้าของบ้าน ก็จะพาขึ้นไปเยี่ยมเยือนบ้านนั้นบ้านนี้ และต่างก็สนุกสนานร้องาาเพลงและร่วมรับประทานอาหารสุรากันตลอดคืน พอเช้าตรู่ของวันขึ้น ๑๔ ่า เดือน ๑๑ ชาวบ้านต่างก็าเรือของตนออกไปตามาคลองาโรงเพื่อไปขอรับบัวจากชาวบ้านบางพลีทั้งสองฝั่งคลอง การให้และการรับดอกบัวก็จะากันอย่างสุภาพ คือส่งและรับกันมือต่อมือ หรือก่อนให้จะยกมือพนมอธิษฐาน เสียก่อนระหว่างชาวบ้านบางพลีกับชาวต่างถิ่นที่สนิทสนมคุ้นเคยกันเป็นพิเศษ บางทีชาวบางพลีก็จะโยนดอกบัวลงไปให้กันโดยไม่มีพิธีรีตอง เหตุที่มีการโยนบัวให้กัน แบบมือต่อมือจึงเลือนไปจนมีการาไปพูดกันตอนหลังว่า รับบัว โยนบัว การรับดอกบัวของชาวต่างบ้านจากชาวบางพลีจะสิ้นสุดเมื่อเวลาประมาณ ๐๘.น ๐๐ .หรือ ๐๙.น ๐๐ .และชาวบ้านก็จะพากันกลับ ตอนขากลับจะมีการแข่งเรือกันไปด้วยแต่เป็นการแข่งขันโดยมีเส้นชัยไม่มีกรรมการตัดสินและไม่มีการแบ่งประเภทหรือชนิดของเรือ ใครพอใจจะแข่งกับใครเมื่อไหร่ที่ใดก็แข่งกันไปหรือจะเปลี่ยนคู่เปลี่ยนคู่แข่งกันไปเรื่อย ๆ ตามแต่จะตกลงกัน ดอกบัวที่ชาวต่างถิ่นรับจากชาวบางพลีไปนั้นจะาไปบูชาในเทศกาลออกพรรษาตามวัดในหมู่บ้านของตนประเพณีที่กล่าวมาแล้วข้างต้น ครั้นนานมาชาวต่างถิ่นที่าเรือมารับดอกบัวจากชาวบางพลีมีปริมาณลดลงเรื่อย ๆ เสียงกระจับ ปี่ สีซอ กลองามะนา เสียงเพลงเสียงเฮฮาที่เคยเซ็งแซ่ตามาคลองาโรงในคืนวันขึ้น ๑๓ ่า เดือน ๑๑ ก็ค่อย ๆ เงียบหายไป ต่อมาสมัยนายชื้น วรศิริ (เพชรบูรณะ วรศิริ) เป็นนายาเภอบางพลี ระหว่าง พ.ศ.๒๔๗๓-๒๔๘๑ ประเพณีรับบัวมีทีท่าว่าจะเสื่อมสูญไปนั้น ได้กลับมาฟื้นตัวอีกครั้ง เมื่อได้หารือกับพ่อค้าคหบดีตลอดจนข้าราชการเป็นที่เรียบร้อยแล้ว ทางาเภอบางพลีจึงได้ตกลงกันาเนินการจัดงานประเพณี รับบัวขึ้นคือ เริ่มงานวันขึ้น ๑๓ ่า เดือน ๑๑ และรุ่งขึ้น ๑๔ ่า เดือน ๑๑ เป็นวันรับบัวอันเป็นครั้งแรก ที่ทางราชการเข้ามาเกี่ยวข้องกับประเพณีรับบัวของชาวบางพลี ในการจัดงานประเพณีรับบัวของทางราชการาเภอบางพลี มีการแต่งเรือประกวด เริ่มมีมาเมื่อ พ.ศ.๒๔๘๐ (แต่ก่อนชาวต่างถิ่นจะตกแต่งเรือมาเพียง เพื่อความสวยงามแต่ไม่มีการประกวด) ผู้ใหญ่บ้าน านัน ช่วยกันหาแจกข้าวต้มมัดแก่แขกต่างบ้านและผู้จัดเรือประกวดในวันขึ้น ๑๓ ่า เดือน ๑๑ ประชาชนต่างถิ่นและชาวาเภอบางพลีจะลงเรือล่องไป ตามาคลองาโรง ร้องาาเพลงกันอย่างสนุกสนานร่วมกัน ชาวบางพลีจะจัดสุราอาหารไว้ต้อนรับแขกต่างบ้าน ชาวต่างถิ่นคนใดรู้จักมักคุ้นกับชาวาเภอบางพลีคนใดบ้านใดก็จะพากันไปเยี่ยมเยือน สนุกสนานกับชาวบางพลีบ้านนั้นจนรุ่งเช้า วันขึ้น ๑๔ ่า เดือน ๑๑ ต่างก็จะพากันไปดูการประกวดที่คลองาโรงหน้าที่ว่าการาเภอบางพลี ในการจัดงานประเพณีรับบัวมีองค์ประกอบที่าคัญคือ มีการแห่หลวงพ่อโต ซึ่งแต่เดิมยังมิได้มีการแห่ดังเช่นสมัยนี้ ในราวปี พ.ศ .๒๔๖๗ นางจ่นักบัพวกไดพ้รอ้มใจกันสรา้งพระปฐมเจดียข์ึน้ ในวดั พลีใหญ่ใน เมื่อสรา้งเสรจ็แลว้ ก็จดัใหม้ีการฉลองโดยแห่องคพ์ระปฐมเจดียน์ีต้ามาคลองแลว้กลับมาห่มองคพ์ระปฐมเจดีย์กลางคืนก็จัดใหม้ีมหรสพสมโภช แห่ไปได ้๒-๓ ปี ก็หยดุไปดว้ย ดว้ยเหตใุดไปรากฏ ซ่งึเชื่อว่าการแห่ผา้ห่อองคพ์ระปฐมเจดียน์ีไ้ดร้บัแบบอย่างมาจากการแห่ผา้ห่มองคพ์ระสมทุรเจดียข์องาเภอเมืองสมทุรปราการ ต่อมาก็มีการแห่รูปหลวงพ่อโตแทน โดยความเห็นชอบของท่านสมภารกุ่ยและนายฉลวย งามขา แห่รูปภาพของหลวงพ่อโตมาหลายปี จนกระท่ังปี พ๒๔๘๕ ก็มีการาหุ่นาลองหลวงพ่อโต สานดว้ยโครงไม้ปิด .ศ.กระดาษทาสีทอง แลว้าแห่แทนรูปภาพของหลวงพ่อโต ซ่ึงสรา้งโดยนายไสว โตเจริญ ตกกลางคืนก็มีงานมหรสพฉลองกันอย่างครึกครืน้จนถึงสมัยพระครูพิศาลสมณวัตตเ์ป็นเจ้าอาวาสวัดบางพลีใหญ่ในการไดจ้ดัใหท้าการหล่อรูปหลวงพ่อาลองขึน้ าหรบัแห่ตามาดอมเนียมในพ.ศ.๒๔๙๗ และปัจจุบนัแห่โดยรูปหล่อาลองหลวงพ่อรูปปั้น โดยจดัเป็นขบวนแหไ่ปตามาคลองาโรงในวนัขึน้ ๑๓ า เดือน ๑๑ เป็นการประกาศข่าวงานรับบัวให้ประชาชนทราบและวิธีนี้ กลายเป็นประเพณีแห่หลวงพ่อโตก่อนวันงานรบับัวคือ วัน ๑๓ า เดือน ๑๑ ตลอดจนถึงปัจจบุนั การแหห่ลวงพ่อโต จึงเป็นส่วนหน่ึงของงานประเพณีรบับวั ประชาชนท่ีอยู่สองฝ่ังคลองาโรงที่ขบวนแห่หลวงพ่อโตผ่านจัดประดบัธงทิว ตกแต่งบา้นเรือนและตัง้โต๊ะหมู่บูชา พอเชา้วนัรุ่งขึน้ ๑๔ า เดือน ๑๑ มีการประกวดเรือประเภทต่าง ๆของาบลใกลเ้คียงและโรงเรียนส่งเขา้ประกวด ซ่ึงเริ่มตงั้แต ่พ.ศ.๒๕๐๐ มีการ จัดประกวด ปัจจุบนัการประกวดเรือมี ๓ ประเภทดว้ยกัน คือประเภทสวยงาม ประเภทความคิด และประเภท ซึ่งจะเริ่มตงั้แต่เวลา ๐๖.๐๐ น.และ ขบขนัหนา้ที่ว่าการาเภอบางพลีงานจะสิน้สุดลงเวลา ๑๑ .๐๐ น.ของวนัเดียวกนั ในบางปีจัดใหม้ีการประกวดเทพีการแข่งเรือ หรืออย่างอื่นแล้วแต่คณะกรรมการ จัดงานรับบัวแต่ละปีจะพิจารณาเห็นสมควร ส่วนการรอ้งาาเพลงไปตามาาดูหายๆไปจนปัจจุบันไม่มีแล้ว คงเที่ยวสนุกสนานกันตามบริเวณท่ีจัดให้มีมหรสพเท่านนั้
เอกสารอ้างอิง
านักงานวัฒนธรรมจังหวัดสมุทรปราการ )๒๕๕๙(.ประเพณีรับบัว.สืบค้น ๒๐มิถุนายน ๒๕๖๓,จาก
https://www.mculture.go.th/samutprakan/ewt_news.php?nid=410&filename=index
ห้องสมุด ศูนย์วิทยพัฒนา มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช นครนายก)ม.ป.ป.(.ประเพณีรับบัว จังหวัดสมุทรปราการ.สืบค้น ๒๐มิถุนายน.๒๕๖๓จาก https://www.stou.ac.th/Offices/rdec/ nakornnayok/Main/OnlineExhibitions/Samutprakan/Samutprak anPage1.html
词汇
เฉลิมฉลอง庆祝、庆贺
าลอง复制品
นมัสการ ( นะ-มัด-สะ-กาน)参拜、朝拜、合十致敬
สันนิษฐาน (สัน-นิด-ถาน)证明、证实
พง灌木林、草丛
เคร่งครัด严肃的、严厉的、严格的
เอื้อเฟื้อเผื่อแผ่慷慨、豁达、宽厚大度、乐善好施
免责声明:以上内容源自网络,版权归原作者所有,如有侵犯您的原创版权请告知,我们将尽快删除相关内容。