首页 理论教育 泰国溜火船节:传承佛教传统,向河神祈福

泰国溜火船节:传承佛教传统,向河神祈福

时间:2023-07-05 理论教育 版权反馈
【摘要】:溜火船节不是全国性的节日,主要流行于泰国东北部,如那空帕农府、沙功那空府、莱府、廊开府、玛哈沙拉坎府、武拉塔尼府等地及老挝部分省区。另外,在河里举办溜火船活动是为了向河神请罪,烧掉向河里丢垃圾的罪行。溜火船节信仰主要源于佛教中对佛足印的敬仰,对佛祖返回人间普渡众生的日子的祭奠以及对河流的感恩,如今的溜火船的制作加入了现代化科学技术,形式更加多样化,装饰更加绚丽华贵。

泰国溜火船节:传承佛教传统,向河神祈福

【节日导读】溜火船节不是全国性的节日,主要流行于泰国东北部,如那空帕农府、沙功那空府、莱府、廊开府、玛哈沙拉坎府、武拉塔尼府等地及老挝部分省区。举办的时间是解夏节,即泰国阴历的十一月十五日或十一月十六日,目的是在河边祭奠三面佛陀的佛足印。传说三面佛陀在解夏节去巴丹城讲经说法时,居住在南姆含缇河(湄公河)的龙王请求佛陀在河边留下佛足印。此后,大小神仙、人类动物都来祭拜。另外,在河里举办溜火船活动是为了向河神请罪,烧掉向河里丢垃圾的罪行。溜火船由两部分组成,底部用可以漂浮在水面的材料捆绑成竹筏或船的形状,上部是根据需要做成的便于点火的部分。溜火船节信仰主要源于佛教中对佛足印的敬仰,对佛祖返回人间普渡众生的日子的祭奠以及对河流的感恩,如今的溜火船的制作加入了现代化科学技术,形式更加多样化,装饰更加绚丽华贵。

เทศกาลไหลเรือไฟ

ประวัติความเป็นมาและความาคัญ

ประเพณีไหลเรือไฟ เป็นประเพณีของชาวอีสาน ภาษาท้องถิ่น เรียกวา่“เฮือไฟ” จดัขนึ้ในช่วงเทศกาลออกพรรษา โดยมีวัตถุประสงค์เพ่ือบูชารอยพระพุทธบาทของพระสมัมาสัมพุทธเจา้ ณ ริมฝ่ังแม่า นมัทามหานที โดยมีประวัติความเป็นมาดงันี ้กล่าวคือพระพุทธเจ้าเสด็จไปฝ่ังแม่านมัทามหานที ซ่ึงเป็นที่อยู่อาศยัของพญานาค พระพุทธองค์ได้แสดงธรรมเทศนาโปรดพญานาคที่เมืองบาดาลและพญานาคได้ทูลขอพระพุทธองค์ประทับรอบพระบาทไว้ ณ ริมฝ่ังแม่านัมทามหานที ต่อมาบรรดาเทวดา มนุษย์ ตลอดจนสัตว์ทงั้หลายไดม้าสักการะบูชา รอยพระพุทธบาท นอกจากนีป้ระเพณีไหลเรือไฟยงัจัดขึน้เพ่ือขอขมาลาโทษแม่าที่ไดท้ิง้สิ่งปฏิกูลและเป็นการเอาไฟเผาความทุกขใ์หล้อยไปกับสาย

เรือไฟหรือเฮือไฟหมายถึงเรือที่าด้วยท่อนกล้วย ไม้ไผ่ หรือ วสัดุ ที่ลอยา มีโครงสรา้งเป็น รูปต่าง ๆ ตามตอ้งการ เมื่อจุดไฟใส่โครงสรา้งเปลวไฟจะลกุเป็นรูปรา่งตามโครงสรา้งนนั้ "ไหลเรือไฟ" เป็นพิธีกรรมอย่างหน่ึงท่ีพุทธศาสนิกชนอีสานยึดถือปฏิบัติสืบทอดกันมาแต่ครัง้โบราณ ประเพณีการไหลเรือไฟ บางทีเรียกว่า "ล่องเรือไฟ" "ลอยเรือไฟ" หรือ "ปล่อยเรือไฟ"ซ่ึงเป็นลักษณะท่ีเรือไฟเคลื่อนที่ไปเรื่อย ๆ

งานประเพณีไหลเรือไฟ นิยมปฏิบตัิกันในเทศกาลออกพรรษา ในวนัขึน้ ๑๕า เดือน ๑๑หรือวนัแรม ๑า เดือน ๑๑ประเพณีไหลเรือไฟ มีความเช่ือเก่ียวโยงสมัพนัธ์กับขอ้มูลความเป็นมาหลายประการ เช่น เน่ืองจากการบูชารอยพระพุทธบาทการสกัการะพกาพรหม การบวงสรวงพระธาตุจุฬามณี การระลึกถึงพระคุณของพระแม่คงคา เป็นตน้

เรือไฟประกอบดว้ย ๒ส่วน คือ ส่วนท่ีเป็นทุ่นาหรบัลอยาจะใชไ้มท้่ีลอยามาผกูติดกันเป็นแพ และส่วนท่ีเป็นรูปร่างาหรับจุดไฟ เป็นส่วนที่อยู่บนทุ่นใชไ้มไ้ผ่ายาวแข็งแรงตงั้ปลายขึน้ทงั้ ๓า เป็นเสา รบัาหนกัของแผลง และแผลงนีก้็าดว้ยไมไ้ผ่ขนาดเล็กมาผูกยึดไขวก้ันเป็นตารางส่ีเหลี่ยมระยะห่างกันประมาณคืบเศษมัดด้วยลวดใหแ้น่วางราบบนพืน้ เมื่อวางแผนงานออกแบบบนแผงว่าควรเป็นภาพอะไร การออกแบบในสมัยก่อนออกแบบเป็นเรื่องราวเก่ียวกับศาสนาพทุธ เชน่ พทุธประวตัิเป็นตน้ คติและความเชื่อ

ไหลเรือไฟ เป็นพิธีกรรมอย่างหนึ่งที่เกี่ยวเนื่องในพุทธศาสนาตามคติ ไม่ปรากฏหลักฐานว่าถือปฏิบัติกันมาตั้งแต่เมื่อใด เข้าใจว่าพิธีกรรมที่ยึดถือกันมาเป็นประเพณีนี้จะจัดขึ้นเฉพาะท้องถิ่นในบางจังหวัด ที่มีชัยภูมิที่เหมาะสมคือ มีแม่าหรือา เท่าที่ปรากฏจะมีแนวทางปฏิบัติที่คล้าย ๆ กัน อาจมีแตกต่างกันบ้างเล็กน้อยตามความเชื่อของท้องถิ่น

ประเพณีไหลเรือไฟเท่าที่จัดกันขึ้น มีจังหวัดนครพนม สกลนคร เลย หนองคาย ศรีษะเกษ มหาสารคามอุบลราชธานี และในแขวงต่าง ๆ ของสาธารณรัฐประชาธิปไตยประชาชนลาว ที่ตั้งอยู่ริมแม่าโขงและาสาขาเช่น ที่หลวงพระบาง เมืองดอนโขง แขวงาปาศกัด ์ิฯลฯ

๑.ความเชื่อเกี่ยวกับการบูชารอยพระพุทธบาทมีเร่ืองปรากฏในอรรถกถาปุณโณวาทสูตรว่าในครัง้ท่ีพญานาคไดทู้ลอาราธนาพระพุทธองคไ์ด้เสด็จไปแสดงธรรมในภพนาคก่อนเสด็จกลับภพโลก พญานาค ไดทู้ลขอใหพ้ระองคป์ระทับรอยพระบาทไวท้่ีหาดทรายริมฝ่ังแมานมัมทานที รอยพระบาทที่พระองคป์ระทบัไวน้ีต้่อมาไดเ้ป็นที่กราบไหวส้กัการะบูชาของเหล่าเทวดา มนษุยแ์ละสตัวท์ัง้หลาย การไหลเรือไฟจึงเชื่อวา่ าเพื่อบชูารอยพระพุทธบาท

๒.ความเช่ือเก่ียวกับวันพระเจา้เปิดโลก การไหลเรือไฟถือเป็นการบูชาพระพุทธเจ้าในวันท่ีพระพุทธเจ้าเสด็จจากเทวโลกลงมาสู่เมืองมนุษย์ หลังจากท่ีพระพุทธเจา้เสด็จขึน้ไปประาพรรษาเป็นปีท่ี ๗ บนสวรรคช์ั้นดาวดึงสแ์ละทรงแสดงอภิธรรมปิฎกโปรดแก่พระพทุธมารดาเป็นการตอบแทนพระคณุมารดา จนกระท่งับรรลุธรรมชนัโสดาบนัครนั้วนัขึน้๑๕ เดือน ๑๑ซึ่งเป็นวันมหาปวารณาออกพรรษาพระองคก์็เสด็จลงสู่เมืองมนุษย์ ทรงประทับยืนบนยอดเขาสิเนรุราชาโลกนิวรณป์าฏิหาริยท์าใส้วรรค ์มนุษยแ์ละนรก ต่างมองเห็นกันและกัน เรียกวันนีว้่า "วันพระเจา้เปิดโลก" ในบางทอ้งถ่ินจะมีการาปราสาทผงึ้ร่วมกบัการาเรือไฟในวนันนั้

๓.ความเช่ือเกี่ยวกบัการขอขมาและาลึกถึงพระคณุของพระแม่คงคา นอกจากนนั้ยงัมีความเชื่อ ในการาเรือไฟท่ีแตกตา่งออกไปอีกแต่กล่าวโดยรวมแล้วพิธีไหลเรือไฟนีม้ักผูกพันและเกี่ยวข้องกับไฟ แทบทั้งสิ้นรวมทั้งประเพณีอื่น ๆ เช่น งานแห่เทียนเข้าพรรษา งานบุญบั้งไฟการจุดไต้ประทีปสิ่งเหล่านี้อาจจะสอดคล้องกับความเชื่อของคนอีสานที่มีความเชื่อว่า"ไฟจะช่วยเผาผลาญมลายความชั่วร้ายและขจัดปัดเป่าความทุกข์ยาก ความทุกข์เข็ญให้หนีพ้นไป"

ปัจจุบันได้จัดาเรือไฟรูปแบบต่าง ๆ โดยมีการาเอาเทคโนโลยีสมัยใหม่ มาใช้ประกอบในการจัดา และประดับตกแต่งให้วิจิตรตระการตามากยิ่งขึ้น เมื่อปล่อยเรือไฟเหล่านี้ลงกลางาโขงภายหลังการจุดไฟให้ลุกโชติช่วง แล้วจะเป็นภาพที่งดงามและติดตาตรึงใจตลอดไป มีการจัดงานไหลเรือไฟในหลายพื้นที่

จังหวัดนครพนม และหนองคาย (มีาเลที่ตั้งติดแม่าโขงเหมือนกัน( มีความเชื่อว่า เป็นการบูชารอยพระพุทธบาทที่ประทับไว้ ที่ริมฝั่งานัมทานที ซึ่งตามพุทธประวัติกล่าวว่า ครั้งที่พญานาคได้ทูลอาราธนา พระพุทธองค์ไปแสดงธรรมในพิภพของนาคใต้เมืองบาดาล เมื่อพระองค์เสด็จกลับทางฝ่ายพญานาคได้ทูล ขอให้พระองค์ประทับรอยพระบาทไว้ ณ ริมฝั่งานัมทานที พระองค์จึงได้ประทับรอยพระบาทไว้ ณ หาดทรายริมาตามประสงค์ของพญานาค ซึ่งรอยพระบาทที่ประทับไว้นี้ไม่เพียงแต่เป็นที่เคารพสักการะของเหล่าพญานาคเท่านั้น ยังเป็นที่เคารพของเหล่าเทวดาและมนุษย์ด้วย จนแสดงออกด้วยการไหลเรือไฟบูชารอยพระพุทธบาทของพระองค์

เอกสารอ้างอิง

หอ้งสมุดประชาชน าเภอเมืองนครพนม ”เฉลิมราชกมุาร“ี.

ม).ป.ปประเพณีไหลเรือไฟ.สืบคน้ ๒๐มิถุนายน ๒๕๖๓, จาก(www.xing528.com)

http://ps.nkp.ac.th/show_learning.php?nid=69

ประเพณีไหลเรือไฟ.สืบคน้ ๒๐มิถุนายน ๒๕๖๓, จาก

https://welovethatphanom.com/index.php/ 2009-10-18-07-27-12

ประเพณีไหลเรือไฟ.สืบคน้๒๐มิถนุายน๒๕๖๓,จาก

https://www.isangate.com/new/khmer/31-art

culture/tradition/415-lai-rue-fire.html

词汇

พญานาค蛇王、蟒王

สัมมาสัมพุทธเจ้า三面佛陀、三面三佛陀

สักการะ (สัก-กา-ระ)敬奉、崇敬

ปฏิกูล可恶、厌恶,龌龊

แผลง变化、演变、变

ทุ่น漂浮

อภิธรรม讲说佛法、讲经布道

ตอบแทน回报、回馈,报答、报恩

ประทับ刻、印、印象

免责声明:以上内容源自网络,版权归原作者所有,如有侵犯您的原创版权请告知,我们将尽快删除相关内容。

我要反馈