首页 理论教育 泰国守夏节:入夏乐安,三月安居修行

泰国守夏节:入夏乐安,三月安居修行

时间:2023-07-05 理论教育 版权反馈
【摘要】:守夏节又称入夏节、雨安居等,时间是从泰国阴历八月十六日至十一月十五日,为期三个月,这三个月也称为安居期。相传守夏节源自古印度僧侣雨期禁足安居的习俗,认为在泰国阴历八月十六日至十一月十五日的这三个月内,僧人外出容易踩死稻谷、小草、小虫,因此应该在寺内修学,接受供养。守夏节当天,泰国放假一天。全国各地的僧侣要清扫寺院和僧舍,举行守夏安居仪式,礼佛诵经,并起誓在寺内安心修持三个月。

泰国守夏节:入夏乐安,三月安居修行

【节日导读】守夏节又称入夏节、雨安居等,时间是从泰国阴历八月十六日至十一月十五日,为期三个月,这三个月也称为安居期。

相传守夏节源自古印度僧侣雨期禁足安居的习俗,认为在泰国阴历八月十六日至十一月十五日的这三个月内,僧人外出容易踩死稻谷、小草、小虫,因此应该在寺内修学,接受供养。

守夏节当天,泰国放假一天。全国各地的僧侣要清扫寺院和僧舍,举行守夏安居仪式,礼佛诵经,并起誓在寺内安心修持三个月。人们到佛寺斋僧行善、听经受戒,并准备了蜡烛、糖、牙刷、牙膏、肥皂、浴巾等,供僧人在守夏节期间使用。

在守夏节期内,佛教徒和僧侣通过持守戒律来净化自身。僧人静心学习佛法,持守戒律。一些在家的居士坚持在守夏节内的每个佛日都去寺庙里听僧侣说法,做早晚功课并持守佛教戒律。进入安居期,是社会净化活动的开始,很多平日爱饮酒的男子在这三个月内戒酒,这也是获得功德的行为。

安居期作为一个特殊的时段,有助于提醒人们注意自己的日常行为。

วันเข้าพรรษา

ความเป็นมาของวันเข้าพรรษา

วันเข้าพรรษา (วันแรม ๑่า เดือน ๘) หรือเทศกาลเข้าพรรษา (วันแรม ๑่า เดือน ๘ถึง วันขึ้น๑๕่า เดือน ๑๑) ถือว่าเป็นวันาคัญทางศาสนาพุทธที่าคัญวันหนึ่งของประเทศไทย โดยมีาหนดระยะเวลา ๓เดือนในช่วงฤดูฝน ซึ่งวันเข้าพรรษาเป็นวันาคัญทางพระพุทธศาสนาที่ต่อเนื่องมาจากวันอาสาฬหบูชา(วันขึ้น ๑๕่า เดือน ๘) พุทธศาสนิกชนชาวไทย รวมถึงพระมหากษัตริย์และบุคคลทั่วไปได้สืบทอดประเพณีการปฏิบัติและการาบุญในวันเข้าพรรษามาช้านานตั้งแต่สมัยสุโขทัย

สาเหตุที่พระพุทธเจ้าได้ทรงอนุญาตให้าพรรษาอยู่ ณ สถานที่ใดสถานที่หนึ่งตลอดระยะเวลา ๓เดือน แก่พระสงฆ์นั้น ก็เพื่อให้พระสงฆ์ได้หยุดพักจากการจาริกเผยแพร่ศาสนายังสถานที่ต่าง ๆ ที่จะเป็นไปด้วยความยากาบากในช่วงฤดูฝน โดยเฉพาะอย่างยิ่งช่วงเวลาาพรรษตลอด ๓เดือนนั้น เป็นช่วงเวลาและโอกาสาคัญในรอบปีที่พระสงฆ์จะได้มาอยู่าพรรษารวมกันภายในอาวาสหรือสถานที่ใดสถานที่หนึ่งเพื่อศึกษาพระธรรมวินัยจากพระสงฆ์ที่ทรงความรู้ นับว่าเป็นการแลกเปลี่ยนประสบการณ์และสร้างความสามัคคีในหมู่คณะสงฆ์ด้วยเอง อีกทั้งในวันเข้าพรรษาและช่วงฤดูพรรษากาลตลอด ๓เดือนนั้น พุทธศาสนิกชนชาวไทยถือว่าเป็นโอกาสอันดีที่จะได้าเพ็ญกุศลด้วยการเข้าวัดาบุญตักบาตร ฟังพระธรรมเทศนาและนับเป็นโอกาสพิเศษที่มากกว่าวันาคัญอื่น ๆ โดยในวันเริ่มต้นพรรษานี้ จะมีการถวายหลอดไฟ หรือเทียนเข้าพรรษาและผ้าอาบาฝน (ผ้าวัสสิกสาฏก) แก่พระสงฆ์ เพื่อไว้าหรับให้พระสงฆ์ได้ใช้ตลอดการอยู่าพรรษา ซึ่งในอดีตชายไทยที่เป็นพุทธศาสนิกชนและมีอายุครบบวช (๒๐ปี) จะนิยมถือบรรพชาอุปสมบทเป็นพระสงฆ์เพื่ออยู่าพรรษาตลอดทั้ง ๓เดือน โดยพุทธศาสนิกชนชาวไทยจะเรียกการบรรพชาอุปสมบท เพื่อาพรรษาตลอดพรรษากาลว่า “บวชเอาพรรษา”

นอกจากนีเ้ม่ือปี พ.ศ.๒๕๕๑รฐับาลไดป้ระกาศใหว้นัเขา้พรรษา เป็นวันงดดื่มสุราแห่งชาติ ซึ่งในปี ถัดมายังได้ประกาศให้วันเขา้พรรษาเป็นวันท่ีหา้มขายเคร่ืองด่ืมแอลกอฮอลท์่ัวราชอาณาจักร ทงั้นี ้เพื่อเป็นการรณรงคใ์หช้าวไทยตงั้สจัจะอธิษฐานงดการด่ืมสรุาใน วนัเขา้พรรษาและในช่วง ๓เดือนระหว่างฤดูเข้าพรรษา หวังเพ่ือเป็นการสง่เสรมิคา่นิยมท่ีดีใหแ้ก่สงัคมไทย

วนัเขา้พรรษา เป็นวนัท่ีพระสงฆเ์ริ่มอย่าพรรษาตลอด ๓ เดือน ในฤดูฝน ตั้งแต่วันแรม ๑าเดือน ๘จนถึงกลางเดือน ๑๑โดยวันเขา้พรรษาท่ีพระพุทธเจา้ทรงอนญุาตไวม้ีอย่ ู๒วนัคือ

๑.ปรุิมพรรษา คือ วนัเขา้พรรษาตน้ ตรงกบัวนัแรม ๑า เดือน ๘ของทุกปีหรือราวเดือนกรกฎาคม และออกพรรษาในวันขึน้ ๑๕า เดือน ๑๑ราวเดือนตลุาคม

๒.ปัจฉิมพรรษา คือ วนัเขา้พรรษาหลงั าหรบัปีอธิกมาส คือ มีเดือน ๘สองหนตรงกับวันแรม ๑า เดือน ๘หลัง หรือราวเดือนกรกฎาคม และจะออกพรรษาในวันขึน้ ๑๕า เดือน ๑๑ราวเดือนตลุาคม

เม่ือเขา้พรรษาแลว้หากภิกษุมีกิจธุระาเป็น อนัชอบดว้ยพระวินยั พระพทุธเจา้ก็ทรงอนุญาตใหไ้ปได ้โดยมีขอ้ากัดว่าจะตอ้งกลับมายงัสถานที่าพรรษาเดิมภายใน ๗วัน ท่ีเรียกว่า สัตตาหกรณียะ ดงัตอ่ไปนี ้

๑.เมื่อทายกทายิกา ปราถนาจะาเพ็ญกุศล เมื่อมานิมนต์ก็ให้ไปเพื่อรักษาศรัทธาได้

๒.ถ้าสงฆ์ ณ ที่แห่งใดแห่งหนึ่งเกิดอธิกรณ์ขึ้น ก็ให้ไปเพื่อระงับอธิกรณ์ได้

๓.ถ้าบิดา มารดา ญาติ พี่น้อง พระอุปัชฌาย์ อาจารย์ เป็นไข้ เมื่อทราบก็ให้ไปได้

๔.พระวิหารในที่แห่งอื่นเกิดารุดเสียหาย ให้ไปหาสิ่งของเพื่อมาปฏิสังขรพระวิหารนั้นได้

๕.เมื่อถูกสัตว์ร้ายรบกวน ถูกโจรปล้น พระวิหารถูกไฟไหม้ หรือถูกาท่วม ก็ให้ไปจากที่นั้นได้

๖.เมื่อชาวบ้านถูกโจรปล้น อพยพหนีไป ก็ให้ไปกับพวกชาวบ้านได้โดยให้ไปกับชาวบ้านที่มีความเลื่อมใสศรัทธา สามารถที่จะให้ความอุปถัมภ์ได้

๗.เมื่อที่ใดเกิดความขาดแคลน อาหารหรือยารักษาโรค ขาดผู้

อุปถัมภ์ารุง ได้รับความาบากก็อนุญาตให้ไปจากที่นั้นได้

๘.ถ้าหากมีผู้เอาทรัพย์มาล่อ ก็อนุญาตให้ไปจากที่นั้นได้(www.xing528.com)

๙.หากภิกษุสงฆ์หรือภิกษุณีสงฆ์แตกกันหรือมีผู้พยายามจะให้แตกกัน ถ้าการไปจากที่นั้นสามารถระงับการแตกกันได้ ก็อนุญาตให้ไปได้

ความาคัญของวันเข้าพรรษา

วันเข้าพรรษานีม้ีความาคัญต่อพุทธศาสนิกชนและเป็นวันาคญัของพระพุทธศาสนาดว้ยเหตผุล ดงันี ้

๑.พระภิกษุจะหยุดจาริกไปยังสถานท่ีอ่ืน ๆ แต่จะเข้าพักอยู่ประาในวดัแห่งเดียวตามพทุธบญัญตัิ

๒.การท่ีพระภิกษุอย่ปูระาที่นาน ๆ ย่อมมีโอกาสไดส้งเคราะห์กลุบตุรที่ประสงคจ์ะอุปสมบท เพื่อศกึษาพระธรรมวินยัและสงเคราะห์พทุธบรษิัทท่วัไป

๓.เป็นเทศกาลที่พระพุทธศาสนิกชนงดเวน้อบายมุขและความช่วัตา่ง ๆ เช่น การดื่มสรุาส่ิงเสพติด และการเท่ียวเตรเ่ฮฮา เป็นตน้

๔.นอกจากเป็นเทศกาลที่พทุธศาสนิกชนงดเวน้อบายมุขและ ความช่วัตา่ง ๆ แลว้ในชว่งเวลาพรรษา พทุธศาสนิกชนท่วัไปจะ าเพ็ญทาน รกัษาศีลฟังธรรม และเจริญภาวนามากขึน้

พิธีทางศาสนา การาเพ็ญกุศลเนื่องในเทศกาลเขา้พรรษานีย้งัมีประเพณีาคญัอย่ ู๒ ประเพณี ควรามากลา่วไว ้ณ ที่น่ี ดงันี ้

๑.ประเพณีแห่เทียนพรรษา ประเพณีนีค้งเกิดขึน้จากความาเป็นท่ีว่าสมัยก่อนยังไม่มีไฟฟ้าใช้กัน ดงัปัจจุบนั เม่ือพระสงจ์าพรรษารวมกันมาก ๆ ก็าตอ้งปฏิบตัิกิจวตัร เชน่ การาวตัรสวดมนต์เชา้มืด และตอนพลบา การศึกษาพระปริยัติธรรมกิจกรรมเหล่านี้ลว้นต้องการแสงสว่างโดยเฉพาะ แสงสว่างจากเทียนท่ีพระสงฆ์จุดบชูาพระรตันตรยั และเพ่ือตอ้งการใชแ้สงสว่าง โดยตรงดว้ยเหตนุี ้พทุธศาสนิกชนจงึนิยม หลอ่เทียนตน้ใหญ่ กะว่าจะจดุไดต้ลอดเวลา

๒.ไปถวายพระภิกษุในวัดใกล้ ๆ บ้านเป็นพุทธบูชาเทียนดังกล่าวเรียกว่า เทียนาพรรษา ก่อนจะาเทียนไปถวายนี้ชาวบา้นมกัจดัเป็นขบวนแห่แหนกนัไปอย่างเอิกเกริกสนุกสนานยกว่าประเพณีแหเ่ทียนาพรรษาดงัขอสรุปเนือ้หาจากหนงัสือนางนพ หนงัสือนางนพมาศ ดงันี ้

เมื่อถึงวันขึ้น ๑๔ ่า ทั้งทหารบกและทหารเรือก็จัดขบวนแห่เทียนาพรรษา ทั้งใส่คานหาบไป และลงเรือประดิษฐานอยู่ในภาพที่ ๒ขบวนแห่เทียนพรรษา จังหวัดอุบลราชธานีบุษบกทองาประดับธงทิว ตีกลอง เป่าแตรสังข์ แห่ไป ครั้นถึงพระอารามแล้วก็ยกต้นเทียนนั้นเข้าไปถวายในพระอุโบสถหอพระธรรม และพระวิหารจุดตามให้สว่างไสวในที่นั้น ๆ ตลอด ๓ เดือน ดังนี้ทุกพระอาราม ในวัดราษฎร์ทั้งหลาย ก็มีพิธีานองนี้ทั่วพระราชอาณาจักร ปัจจุบันประเพณีแห่

เทียนาพรรษานี้ยังถือปฏิบัติกันอยู่ทั่วไปบางจังหวัด เช่น เทียนาพรรษานี้ยังถือปฏิบัติกันอยู่ทั่วไปบางจังหวัด เช่นอุบลราชธานี ถือให้เป็นประเพณีเด่นประาจังหวัดตนได้จัดประดับ ตกแต่งต้นเทียนใหญ่ ๆ มีการประกวด

๓.ประเพณีถวายผ้าอาบาฝน การถวายผ้าอาบาฝนนี้เกิดขึ้นแต่สมัยพุทธกาล คือ มหาอุบาสิกา ชื่อว่า วิสาขาได้ทูลของพระบรมพุทธานุญาตให้พระสงฆ์ ได้มีผ้าอาบาหรับผลัดเปลี่ยนเวลาสรงาฝนระหว่างฤดูฝน นางวิสาขาจึงเป็นสตรีคนแรกที่ได้ถวายผ้าอาบาฝนแด่พระสงฆ์ ด้วยเหตุนี้ เมื่อถึงวันเข้าพรรษา พุทธศาสนิกชน ตั้งแต่สมัยกรุงสุโขทัยราชธานี จึงนิยมาผ้าอาบาฝนไปถวายผ้าอาบาฝนถวายพระสงฆ์ผู้จะอยู่พรรษา พร้อมกับอาหารและเครื่องใช้ที่าเป็นต่าง ๆ แม้ในปัจจุบัน พุทธศาสนิกชนไทย ก็คงยังปฏิบัติกิจกรรม อย่างนี้อยู่บางวัดมีการแจกฎีกานัดเวลา ประกอบพิธีถวายผ้าอาบาฝน (วัสสิกสาฎก) หรือผ้าาพรรษาและเครื่องใช้อื่น ๆ ณ ศาลาาเพ็ญกุศลของวัดใกล้บ้าน

เอกสารอ้างอิง

สุพิชชา นักฆ้อง.(๒๕๖๐).ตักบาตรดอกไม้.สืบค้น ๒๐มิถุนายน ๒๕๖๓, จาก

https://www.sac.or.th/databases/rituals/detail.php?id=45

词汇

พทุธศาสนิกชน佛教徒 ตงั้สจัจะ起誓、发誓

อาวาส寺庙 ารุดเสียหาย丢失、遗失

าเพ็ญกศุล进行慈善活动 ผอู้ปุถมับ์ารุง支持者、保护者

บรรพชาอปุสมบท戒令

รณรงค์运动 แตกกนั分裂

免责声明:以上内容源自网络,版权归原作者所有,如有侵犯您的原创版权请告知,我们将尽快删除相关内容。

我要反馈