首页 理论教育 泰国宋干节:传统仪式与娱乐活动

泰国宋干节:传统仪式与娱乐活动

时间:2023-07-05 理论教育 版权反馈
【摘要】:宋干节意味着太阳走完一周年而更始。宋干节源于婆罗门教的一种仪式。13世纪,素可泰第三代国王确立南传上座部佛教为国教,宋干节也随之传入泰国。关于泰国宋干节,曼谷卧佛寺石碑上的一则传说,被认为是最古老、最流行的传说。此外,还有美女游行、宋干小姐选美及其他娱乐活动。美女游行的队伍由舞蹈队、乐队、宋干小姐队、花车队等组成。宋干美女要穿规定的服饰。

泰国宋干节:传统仪式与娱乐活动

【节日导读】宋干节,是泰国全国性最大的节日。时间为泰国阴历的五月,公历的4月13日—15日。

“宋干”一词来自梵语,意思是“移动”,指太阳从一个宫运行到另外一个宫。泰国所指的“宋干”,为太阳从双鱼宫运行到白羊宫。宋干节意味着太阳走完一周年而更始。过去,泰国使用小历,宋干节这一天正好进入新纪年,因而宋干节成了泰国的传统新年

宋干节源于婆罗门教的一种仪式。婆罗门教每年都有一个节日,这天教徒要到河边洗浴,洗去身上的厄运,但会有老人、小孩或行走不方便的人,必须依靠他人挑水回去,为他们泼水洗罪。13世纪,素可泰第三代国王确立南传上座部佛教为国教,宋干节也随之传入泰国。

宋干节的第一天被称作“马哈宋干日”,标志着过去一年的结束;第二天被称作“望闹”;节日的最后一天被称作“望泰龙宋”,标志着新的一年的来临。

关于泰国宋干节,曼谷卧佛寺石碑上的一则传说,被认为是最古老、最流行的传说。其故事梗概如下:很久以前,有一位无子的富翁,这位富翁的家靠近酒徒家,酒徒有两个儿子。有一天,酒徒嘲笑富翁,说:“你很富有但无儿子,不像我有两个儿子,比你富有。”富翁听了,感到委屈,因此他举行了崇拜日神和月神的仪式。可过了三年,依然无子。到太阳转移到白羊宫的那天,富翁来到河边的菩提树下,向那菩提树神祷告。菩提树神对富翁表示同情,飞升天界启奏帕英天神。帕英很怜悯富翁,便命金童下凡投胎富翁家,富翁为其取名 “固玛”。为了得到菩提树神庇佑,富翁在菩提树旁建造宫殿给儿子住。固玛非常聪明,世间万物没有他不知道的,还能听懂动物语言。迦宾蓬仙师知道后,想考验固玛是否如人们传说的那样聪明,于是来到凡间,让固玛回答三个问题,且必须在七天内答复,固玛接受了挑战。双方打赌:如果固玛无法回答这三个问题,仙师就会砍了他的头;相反,如果固玛能回答出来,仙师就自取头颅。三个问题是:“早、午、晚,人的祥光分别在身体的哪个部位?”过了六天,固玛还是想不出答案。第七天,他偶然听见树上两只老鹰的对话,雌鹰问:“明天我们去哪儿觅食?” 雄鹰回答:“我们会吃固玛的肉,因为他回答不出仙师的问题。” 雌鹰问:“问题的答案是什么?” 雄鹰回答:“很简单,答案是早上祥光在脸上,人们用水洗脸;中午祥光在胸上,人们用香水喷洒胸部;晚上祥光在足上,人们用水洗脚。”固玛听后,匆忙去找仙师,告诉他自己的答案。仙师认输,砍下了自己的头颅。由于仙师是恶神,头颅掉在哪里,哪里就会发生灾祸。掉在地上或抛入空中,天气会干旱;抛入海中,海水会干涸。因此,仙师让七个女儿轮流用盘子托着自己的头颅,围绕须弥山向右旋转,旋转完之后将其供奉在佛陀都里山洞内的四方形塔中。每年七个女儿都会骑着自己的神兽,捧着盛放她们父亲头颅的盘子,围绕须弥山旋转,而且天界众神均来聚会。

节日期间人们都穿上新衣,到当地寺庙向和尚敬献食物。家庭主妇们在节日前打扫房屋,并把破旧的东西扔掉,以避免坏运。在宋干节的第一天,从早上开始,村民们去寺庙里斋僧行善、听僧人说偈、洒浴佛像、堆积沙塔和放鱼、放鸟等。然后,年轻人向父母和年长者的手中洒香水以表示尊敬和祝福,青年男女互相泼水祝福。此外,还有美女游行、宋干小姐选美及其他娱乐活动。美女游行的队伍由舞蹈队、乐队、宋干小姐队、花车队等组成。宋干美女要穿规定的服饰。上衣、身上的饰品、耳饰、手中拿的武器、坐骑都有明确的规定。装扮宋干美女的服饰有 七套,究竟选用哪套,要依据当年宋干节是星期几来决定。

วันสงกรานต์

ความหมายและความเป็นมาของประเพณีสงกรานต์

ประเพณีสงกรานต์ เป็นประเพณีฉลองการขึ้นปีใหม่ของไทยซึ่งโดยทั่วไปจัดขึ้นระหว่างวันที่ ๑๓-๑๕ เมษายน ตรงกับเดือนห้าตามจันทรคติจากหลักฐานทางประวัติศาสตร์ไทยมีประเพณีสงกรานต์ตั้งแต่สมัยกรุงศรีอยุธยาแล้ว ในกฎมณเฑียรบาลซึ่งสมเด็จพระบรมไตรโลกนาถโปรดฯให้ตราขึ้นกล่าวถึงการพระราชพิธีเผด็จศกและพระราชพิธีลดแจตรพระราชพิธีเผด็จศกเป็นพิธีการเกี่ยวกับการตัดจากปีเก่าขึ้นสู่ปีใหม่ ส่วนพระราชพิธีลดแจตรนั้น พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัวทรงสันนิษฐานว่าพระราชพิธีรดาเดือน ๕ ประเพณีสงกรานต์ของหลวงมีมาตั้งแต่ต้นสมัยกรุงศรีอยุธยาแล้ว ในสมัยก่อนไทยใช้จุลศักราช การขึ้นปีใหม่จึงเป็นการขึ้นจุลศักราชใหม่

เสฐียรโกเศศอธิบายว่า าว่า “สงกรานต์” มาจากภาษาสันสกฤต แปลว่า การเคลื่อนที่ หรือการเคลื่อนย้าย หมายถึงการเคลื่อนย้ายของพระอาทิตย์จากราศีหนึ่งสู่อีกราศีหนึ่ง ตามความหมายในภาษาสันสกฤตสงกรานต์จึงเกิดขึ้นทุกเดือน ส่วนระยะเวลาที่คนไทยเรียกว่า “สงกรานต์” นั้น เป็นช่วงที่พระอาทิตย์เคลื่อนย้ายจากราศีมีนเข้าสู่ราศีเมษ นับว่าเป็นมหาสงกรานต์ เพราะเป็นวันและเวลาตั้งต้นปีใหม่ตามสุริยคติซึ่งถือปฏิบัติในอินเดีย อินเดียซึ่งนับถือศาสนาฮินดูมีประเพณีฉลองปีใหม่ที่เรียกว่าทิวาลี(Diwali) ในฤดูใบไม้ผลิ เป็นเวลานานมาแล้วในสมัยโบราณไทยนับเดือนตามจันทรคติและฉลองการขึ้นปีใหม่ในเดือนอ้ายซึ่งตรงกับเดือนธันวาคม ประเพณีสงกรานต์จึงน่าจะเป็นประเพณีฉลองการขึ้นปีใหม่ที่รับมาจากอินเดีย เนื่องจากเดือนเมษายนเป็นเวลาที่คนไทยว่างจากการานาจึงเป็นการเหมาะสมาหรับคนไทยที่จะฉลองปีใหม่ในช่วงเวลานั้นด้วย ในการฉลองการขึ้นปีใหม่อินเดียมีงานเรียกว่า โหลี(Holi) และมีานานเล่าถึงงานโหลีนี้หลายานวนอธิบายความเป็นมาของการเล่นสาดาสี ในงานฉลองโหลีนี้คนอินเดียมีการเล่นสาดแป้งและาสีใส่กัน คนไทยซึ่งนับถือพระพุทธศาสนามีประเพณีฉลองสงกรานต์ด้วยการาบุญ รดาและสาดาเพื่อแสดงความกตัญูและแสดงความปรารถนาดีต่อกัน นอกจากนี้ยังมีานานซึ่งอธิบายความเป็นมาของประเพณีสงกรานต์ตลอดจนการานายเรื่องดินฟ้าอากาศการผลิตพืชผลและเหตุการณ์บ้านเมืองด้วย

ประเพณีสงกรานต์เป็นการฉลองการขึ้นปีใหม่ตามสุริยคติ แต่เนื่องจากยังนิยมนับวันทางจันทรคติกันอยู่ช่วงเวลาฉลองสงกรานต์ในแต่ละท้องถิ่นจึงอาจไม่ตรงกันทีเดียวโดยปกติอยู่ระหว่างวันที่ ๑๓-๑๕ เมษายน ในล้านนาบางปีสงกรานต์อาจอยู่ในช่วงวันที่ ๑๔-๑๖เมษายน ในภาคกลางนิยมาบุญตักบาตร ในวันที่๑๓ เมษายน ถือเป็นวันมหาสงกรานต์ คือเป็นวันที่พระอาทิตย์ก้าวเข้าสู่ราศีเมษเป็นวันสิ้นปีเก่า วันที่ ๑๔ เมษายนเป็นวันเนาคือวันที่เชื่อมต่อระหว่างปีเก่ากับปีใหม่และวันที่๑๕ เมษายนเป็นวันเถลิงศกขึ้นปีใหม่ประเพณีสงกรานต์นอกจากเป็นประเพณีการขึ้นปีใหม่ของไทยแล้วยังพบว่าประเทศเพื่อนบ้าน ได้แก่สาธารณรัฐประชาธิปไตยประชาชนลาว สหภาพพม่า ประเทศกัมพูชาตลอดจนกลุ่มชนที่พูดภาษาตระกูลไทหลายกลุ่มก็มีประเพณีสงกรานต์เป็นประเพณีการขึ้นปีใหม่ด้วย เช่นไทลื้อ ในเขตปกครองตนเองสิบสองปันนาและไทเหนือในเขตปกครองตนเองใต้คงมณฑลยูนนานสาธารณรัฐประชาชนจีน ไทเขินและไทใหญ่ในสหภาพพม่า ไทพ่าเก ไทอ่ายตอนและไทาตี่หรือไทาที่อยู่ในรัฐอัสสัมและรัฐอรุณาจัล ประเทศอินเดีย สังเกตว่าสังคมที่มีประเพณีสงกรานต์ล้วนเป็นสังคมที่นับถือพระพุทธศาสนาฝ่ายหินยาน

านานสงกรานต์

ความเป็นมาของประเพณีสงกรานต์ในประเทศไทยมีเรื่องเล่าเป็นานานเป็นที่รับรู้กันอย่างแพร่หลายคือเรื่องของธรรมบาลกุมารและกบิลพรหมานวนลายลักษณ์ชื่อเรื่อง มหาสงกรานต์ จารึกบนแผ่นศิลาประารูปเขียนที่วัดพระเชตุพนวิมลมังคลาราม านานเรื่องนี้จารึกบนแผ่นศิลาานวน ๗ แผ่น ตอนต้นมีาอธิบายว่า านาเรื่องนี้มีอยู่ในคัมภีร์ภาษาบาลีของฝ่ายรามัญานานมหาสงกรานต์มีเนื้อเรื่องดังนี้

เมื่อต้นภัทรกัลป์เศรษฐีคนหนึ่งไม่มีบุตร ตั้งบ้านอยู่ใกล้กับนักเลงสุรา นักเลงสุรานั้นมีบุตร ๒ คน มีผิวเนื้อดุจทอง วันหนึ่งนักเลงสุราได้เข้าไปในบ้านเศรษฐีกล่าวาหยาบช้าแก่เศรษฐีต่างๆเศรษฐีได้ฟังก็กล่าวว่าเรามีสมบัติเป็นอันมากไฉนท่านจึงหมิ่นเรานักเลงสุราตอบว่าท่านมีสมบัติมากก็จริงแต่หามีบุตรไม่ ถ้าท่านถึงแก่ความตายแล้วสมบัติก็จะเสื่อมสูญเปล่าเรามีบุตรชาย๒คนมีผิวดุจทองเห็นว่าประเสริฐกว่าท่าน เศรษฐีได้ฟังมีความละอายจึงบวงสรวงต่อพระจันทร์และพระอาทิตย์เพื่ออธิษฐานขอบุตร เวลาผ่านไปถึง๓ปีก็ไม่มีบุตรอยู่มาวันหนึ่งในเดือนห้าเป็นช่วงเวลาที่พระอาทิตย์เคลื่อนจากราศีมีนเข้าสู่ราศีเมษถือว่าเป็นวันมหาสงกรานต์ผู้คนต่างจัดงานฉลอง ตั้งต้นปีใหม่ทั่วชมพูทวีป เศรษฐีได้พาบริวารไปยังต้นไทรริมฝั่งาซึ่งมีนกานวนมากอาศัยอยู่ เศรษฐี เอาข้าวสารล้างา ๗ ครั้งแล้วหุงบูชา รุกขเทวดาประาต้นไทรพร้อมด้วยอาหารหลายอย่างมีการประโคมดุริยางค์ดนตรีแล้วตั้งจิตอธิษฐานขอบุตรจากรุกขเทวดาประาต้นไทร รุกขเทวดามีความกรุณาเหาะไปขอบุตรจากพระอินทร์ให้แก่เศรษฐีพระอินทร์จึงให้ธรรมบาลเทวบุตรลงมาปฏิสนธิในครรภ์ภรรยาเศรษฐีเมื่อคลอดจากครรภ์ บิดามารดาตั้งชื่อว่าธรรมบาลกุมารและปลูกปราสาท ๗ ชั้นให้อยู่ที่ใต้ต้นไทรริมฝั่งานั้นาให้กุมารรู้ภาษานก เมื่อ โตขึ้นอายุ ๗ ขวบเรียนไตรเพทจบก็ได้เป็นอาจารย์บอกมงคลการต่างๆ แก่มนุษย์ทั้งหลายในชมพูทวีป

ต่อมาพรหมองค์หนึ่งชื่อว่ากบิลพรหมได้ลงมาถามปัญหา๓ข้อแก่ธรรมบาลกุมารและพูดกับธรรมบาลกุมารว่าถ้าท่านแก้ได้เราจะตัดศีรษะเราบูชาท่านถ้าท่านแก้ไม่ได้เราจะตัดศีรษะท่านเสีย ธรรมบาลกุมารขอผัด ๗ วัน กบิลพรหมกลับไปยังพรหมโลกฝ่ายธรรมบาลกุมารพิจารณาปัญหานั้นเวลาผ่านไปได้ ๖ วันแล้วยังไม่ทราบาตอบคิดว่าวันรุ่งขึ้นจะตายด้วยอาชญาท้าวกบิลพรหมนั้นคิดจะหนีไปซ่อนตัวจึงลงจากปราสาทไปนอนอยู่ใต้ต้นตาลสองต้น ขณะนั้นมีนกอินทรีย์สองตัวผัวเมียารังอยู่บนต้นตาล ธรรมบาลกุมารได้ยินนกอินทรีย์เมียถามนกอินทรีย์ผัวว่าพรุ่งนี้เราจะไปหาอาหารที่ไหนกัน นกอินทรีผัวตอบว่าพรุ่งนี้ครบ ๗ วันที่ท้าวกบิล พรหมถามปัญหาธรรมบาลกุมาร ถ้าธรรมบาลกุมารแก้ไม่ได้ท้าวกบิลพรหมก็จะตัดศีรษะเสียเราจะได้กินมนุษย์เป็นอาหาร นกอินทรีตัวเมียถามว่าเจ้ารู้จักปัญหานั้นหรือไม่ นกอินทรีย์ผัวตอบว่ารู้แล้วก็เล่าให้นกอินทรีเมียฟัง แต่ต้นจนจบธรรมบาลกุมารนอนอยู่ใต้ต้นไม้ได้ยินก็าได้มีความโสมนัสเป็นอันมากจึงกลับมาสู่เรือนของตน ครั้นครบ ๗ วัน ท้าวกบิลพรหมลงมาถามปัญหา ธรรมบาลกุมารตอบปัญหาตามที่ได้ยินมาจากนกอินทรีย์สองตัวผัวเมีย

หลังจากฟังาตอบของธรรมบาลกุมารแล้วนั้น ท้าวกบิลพรหมา ต้องตัดศีรษะของตนจึงเรียกธิดา ๗ นาง ซึ่งเป็นบริจาริกาของพระอินทร์ให้มาพร้อมกันแล้วก็บอกว่า เศียรของตนซึ่งจะตัดออกบูชาธรรมบาลกุมารนั้น ถ้าตั้งไว้บนแผ่นดินก็จะเกิดไฟไหม้ทั่วโลก ถ้าทิ้งขึ้นไปบนอากาศฝนก็จะแล้ง ถ้าจะทิ้งในมหาสมุทราก็จะแห้งให้ธิดาทั้ง ๗ เอาพานมารับเศียรของตนแล้วท้าวกบิลพรหมก็ตัดเศียรส่งให้นางทุงษะบุตรคนโต ในขณะนั้น โลกก็เกิดโกลาหลยิ่งนักเมื่อนางทุงษมหาสงกรานต์เอาพานรับเศียรท้าวกบิลพรหมผู้เป็นบิดาแล้วให้เทพทั้งหลายแห่ประทักษิณเวียนรอบเขาพระสุเมรุราช ๖๐ นาที แล้วก็เชิญเข้าประดิษฐานในมณฑป ณ าคันทชุลีเขาไกรลาศ บูชาด้วย เครื่องทิพย์ต่างๆพระเวศุกรรมได้นฤมิตโรงประดับด้วยแก้ว๗ ประการ ชื่อภัควดีให้เทพยดาและนางฟ้านั่ง ฝ่ายเทพยดาก็าเถาฉนุมุนาศมาล้างาในอโนดาตสระ ๗ ครั้ง แล้วแจกกันสังเวยทุกๆ องค์ครั้นถึงาหนดครบ ๓๖๕ วันมนุษย์สมมติว่าเป็นปีหนึ่งเป็นวันสงกรานต์นางเทพธิดาทั้ง ๗ องค์ ก็ทรงเทพพาหนะต่างๆ ผลัดเวรกันมาเชิญเศียรท้าวกบิลพรหมออกแห่พร้อมด้วยเทวดาานวนแสนโกฏิประทักษิณรอบเขาพระสุเมรุแล้วก็กลับไปเทวโลกเป็นเช่นนี้ทุกปีในานวนที่เป็นเรื่องเล่า บางานวนเล่าว่ามีการใช้าระล้างศีรษะ ท้าวกบิลพรหม ทุกครั้งก่อนจะาไปประดิษฐานไว้ใน

านานและการปฏิบัติในประเพณีสงกรานต์

านานสงกรานต์จากจารึกแผ่นศิลาวัดพระเชตุพนไม่ได้ให้รายละเอียดว่ากบิลพรหมถามปัญหาธรรมบาลกุมารว่าอย่างไรานวนมุขปาฐะที่เล่ากันมีใจความตรงกับที่พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัวทรงเล่าไว้ในพระราชพิธีสิบสองเดือนกล่าวคือปัญหามีว่าเวลาเช้าเวลากลางวันและเวลาเย็นศรีอยู่ที่ไหนและาตอบคือตอนเช้า ศรีอยู่ที่หน้ามนุษย์ทั้งหลายจึงล้างหน้า เวลากลางวันศรีอยู่ที่อกมนุษย์ทั้งหลายจึงเอาเครื่องหอมประพรมที่อกหลังพระอาทิตย์ตกแล้วศรีอยู่ที่เท้ามนุษย์ทั้งหลายจึงเอาาล้างเท้าพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัวมีพระบรมราชาธิบายว่าในฎีกาสงกรานต์อย่างเก่าซึ่งโหรถวายมีความอธิบายยืดยาวออกไปเช่นเถาฉมุนุนาศนั้นเมื่อเอาไปล้างาในสระอโนดาต๗ครั้งแล้วก็ละลายออกเป็นเหมือนามันเนย เทวดาาบุญเลี้ยงดูกันด้วยาจากเถาฉมุนุนาศจึงได้คุ้มอันตรายอันจะเกิดแต่สงกรานต์ได้และโหรมอญภายหลังแต่งาราเพิ่มาอธิบายให้ละเอียดขึ้นและสมมติธิดา๗ นางของกบิลพรหมเทียบกับวันทั้ง ๗ในสัปดาห์ปีไหนพระอาทิตย์ยกขึ้นสู่ราศีเมษเถลิงศกปีใหม่ตามสุริยคติในวันใดก็าหนดว่าเป็นเวรของธิดาที่มีชื่อสมมติเข้ากับวันนั้นาหน้าที่เชิญศีรษะกบิลพรหมโดยเหตุที่ธิดากบิลพรหมทั้ง ๗ นาง ผลัดเวรกันมารับหน้าที่เชิญศีรษะของบิดาออกแห่ในวันสงกรานต์ทุกปีจึงเรียกทั้ง ๗ นางว่า “นางสงกรานต์” และมีรายละเอียดว่าด้วยเรื่องการแต่งกายและพาหนะ ของแต่ละนางดังนี้

วันอาทิตย์ นางสงกรานต์คือนางทุงษทัดดอกทับทิมเครื่องประดับปัทมราคภักษาหารผลมะเดื่อ หัตถ์ขวาถือจักรหัตถ์ซ้ายถือสังข์มีครุฑเป็นพาหนะ

วันจันทร์ นางสงกรานต์คือนางโคราคทัดดอกปีบเครื่องประดับมุกดาภักษาหารามันหัตถ์ขวาถือพระขรรค์หัตถ์ซ้ายถือไม้เท้ามีเสือเป็นพาหนะ

วันอังคารนางสงกรานต์คือนางรากษหรือรากษสทัดดอกบัวหลวงเครื่องประดับโมราภักษาหารโลหิตหัตถ์ขวาถือตรีศูลหัตถ์ซ้ายถือธนูมีสุกรเป็นพาหนะ

วันพุธนางสงกรานต์คือนางมณฑา ทัดดอกาปาเครื่องประดับ ไพฑูรย์ภักษาหารนมเนยหัตถ์ขวาถือเข็มหัตถ์ซ้ายถือไม้เท้ามีลาเป็นพาหนะ

วันพฤหัสบดี นางสงกรานต์คือนางกริณี ทัดดอกมณฑาเครื่องประดับมรกตภักษาหารถั่วงาหัตถ์ขวาถือขอช้างหัตถ์ซ้ายถือปืนช้างเป็นพาหนะ

วันศุกร์ นางสงกรานต์คือนางกิมิทาทัดดอกจงกลนี เครื่องประดับบุษราคัมภักษาหารกล้วยาว้าหัตถ์ขวาถือพระขรรค์หัตถ์ซ้ายถือพิณกระบือเป็นพาหนะ

วันเสาร์ นางสงกรานต์คือ นางมโหทรทัดดอกสามหาวเครื่องประดับนิลรัตน์ภักษาหารเนื้อทรายหัตถ์ขวาถือจักรหัตถ์ซ้ายถือตรีศูลมีนกยูงเป็นพาหนะ

ภาพที่ ๑ การรดาขอพร

ความหมายจากานานสงกรานต์

านานสงกรานต์เป็นานานที่แต่งขึ้นเพื่ออธิบายความเป็นมา ของการรดา ซึ่งเป็นพิธีกรรมาคัญในประเพณีสงกรานต์สัญลักษณ์ ในานานมีดังนี้

ศีรษะท้าวกบิลพรหมเป็นสัญลักษณ์ของดวงอาทิตย์ ความร้อนและความแห้งแล้งเพราะช่วงที่มีประเพณีสงกรานต์เป็นช่วงที่อากาศร้อนจัด

า เป็นสัญลักษณ์ของ การมีชีวิต ความอุดมสมบูรณ์ดังภาษิตไทลื้อว่า “ดินก่อเกิดาก่อเป็น(ดินเป็นแหล่งที่ให้พืชพันธุ์เกิดและาให้มีชีวิตอยู่ได้) ายังเป็นสัญลักษณ์ของความเย็น ความสดชื่นและความสะอาดจึงเหมาะที่จะใช้เพื่อแสดงความปรารถนาดีต่อกันและใช้แสดงถึงความสะอาดผ่องแผ้วของกายและใจที่จะเริ่มชีวิตใหม่ในโอกาสขึ้นปีใหม่

นางสงกรานต์ เป็นผู้ดูแลไม่ให้ศีรษะตกถูกพื้นดิน าให้ไม่เกิดภัยพิบัติน่าจะเป็นเพราะสตรีเป็นผู้ให้าเนิด เป็นผู้าหน้าที่เป็นแม่เลี้ยงดูและคอยปกป้องคุ้มครองลูก จึงเหมาะที่จะช่วยคุ้มครองโลกให้ร่มเย็นและอุดมสมบูรณ์

ประเพณีสงกรานต์เป็นประเพณีของสังคมเกษตรกรรม คนไทยในภาคกลางมีประกาศสงกรานต์ซึ่งแสดงให้เห็นคติความเชื่อทางโหราศาสตร์โดยาเรื่องธิดาท้าวกบิลพรหมซึ่งเรียกกันว่านางสงกรานต์มาานายเกี่ยวกับผลผลิตทางเกษตรกรรมและเหตุการณ์บ้านเมืองในประกาศสงกรานต์แต่ละปีจะบอกชื่อของนางสงกรานต์ซึ่งผลัดเปลี่ยนกันมาถือพานที่รองรับศีรษะพ่อมีรายละเอียดเกี่ยวกับการแต่งกาย สัตว์พาหนะ ลักษณะการนั่งนอนบนพาหนะซึ่งจะานายถึงความอุดมสมบูรณ์หรือความขาดแคลนของพืชพรรณธัญญาหารความสงบเรียบร้อยหรือความยุ่งยากของบ้านเมือง

เนื่องจากคนไทยให้ความาคัญแก่บรรพบุรุษ และเคยมีการเซ่นไหว้ผีาหรือผีเรือน ซึ่งเป็นผีบรรพบุรุษ ในหลายโอกาสโดยเฉพาะเมื่อขึ้นปีใหม่ ดังที่ยังพบการปฏิบัตินี้ในกลุ่มชนชาติไทที่ไม่ได้นับถือพระพุทธศาสนา เมื่อคนไทยนับถือพระพุทธศาสนาและรับประเพณีสงกรานต์เข้ามาเป็นประเพณีการขึ้นปีใหม่จึงมีการาบุญอุทิศส่วนกุศลให้ญาติผู้ล่วงลับ ประเพณีสงกรานต์เป็นประเพณีที่ให้ความาคัญต่อการแสดงความกตัญญูและความปรารถนาดีต่อกัน เป็นเวลาที่ลูกหลานาลึกถึงญาติที่ล่วงลับไป และเป็นการแสดงการคารวะต่อญาติผู้ใหญ่ที่ยังมีชีวิตอยู่ประเพณีสงกรานต์เป็นประเพณีในสังคมที่นับถือพระพุทธศาสนาจึงมีการาเพ็ญกุศลทางศาสนา เพื่อให้ใจผ่องแผ้วก่อนการขึ้นปีใหม่ ในขณะเดียวกันก็เป็นประเพณีที่ผู้คนมีโอกาสสนุกสนานมีการเล่นสาดาและการละเล่นเพื่อความรื่นเริงบันเทิงใจ

การปฏิบัติในประเพณีสงกรานต์

ประเพณีสงกรานต์ที่สืบทอดมาในประเทศไทยมี๒ แบบ คือ ประเพณีสงกรานต์ของหลวงซึ่งจัดเป็นการพระราชพิธีเรียกว่า “การพระราชกุศลสงกรานต์” และประเพณีของราษฎรที่จัดกันในท้องถิ่นต่างๆ

การพระราชกุศลสงกรานต์เป็นการพระราชพิธีาเพ็ญกุศลส่วน พระองค์และเป็นการพระราชพิธีเพื่อความเป็นสิริมงคลของบ้านเมืองด้วยในจดหมายเหตุาให้การชาวกรุงเก่าได้กล่าวถึงพระราชพิธีเถลิงศกสงกรานต์ สรุปความได้ว่า พระเจ้าแผ่นดินแห่งกรุงศรีอยุธยาจะเสด็จสรงาพระพุทธปฏิมากรศรีสรรเพชญ์ เทวรูปพระพิฆเนศวรและโปรดฯให้นิมนต์พระสงฆ์ พระราชาคณะมาสรงาและรับพระราชทานอาหารบิณฑบาตและจตุปัจจัยไทยทานในพระราชวังทั้ง ๓ วัน ทรงก่อพระเจดีย์ทรายที่วัดพระศรีสรรเพชญ์และมีการฉลองพระเจดีย์ทรายโปรดฯให้ตั้งโรงทานเลี้ยงพระและราษฎร มีเครื่องโภชนาหารคาวหวาน ากิน าอาบและยารักษาโรคพระราชทานทั้ง ๓ วัน

การพระราชกุศลสงกรานต์ในสมัยรัตนโกสินทร์มีลักษณะดังนี้ในวันก่อนหน้าสงกรานต์หนึ่งวัน เจ้าพนักงานจะนิมนต์พระสงฆ์มาสวดพระปริตรเพื่อเสกาที่จะสรงมุรธาภิเษกในวันเถลิงศก พระสงฆ์จะสวดพระปริตรเป็นเวลา ๓ วันและมีการสวดมนต์ฉลองพระทรายบรรดาศักดิ์ในตอนเย็น ในวันมหาสงกรานต์ตอนเช้าพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวเสด็จพระราชาเนินมาทรงเป็นประธานเจ้าพนักงานจัดการถวายภัตตาหาร เมื่อพระสงฆ์ฉันเสร็จแล้วจึงเสด็จพระราชาเนินทรงประพรมาหอมพระเจดีย์ทรายทั่วไปแล้วเสด็จถวายของไทยธรรมแด่พระสงฆ์ในวันเนาทรงถวายไตรจีวรแด่พระสงฆ์ หลังจากพระสงฆ์สรงาและเปลี่ยนผ้าครองไตรจีวรใหม่แล้วกลับเข้าไปรับพระราชทานภัตตาหารฉันข้าวแช่ในท้องพระโรงในวันเถลิงศกเสด็จพระราชาเนินออกทรงบาตรแล้วเสด็จทรงาหอมสรงพระบรมอัฐิและพระอัฐิซึ่งประดิษฐานอยู่ในหอพระอัฐิพระสงฆ์รับพระราชทานฉันเช้าแล้วสดับปกรณ์ ในวันนี้พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวจะเสด็จสรงามูรธาภิเษกแล้วจึงทรงสดับปกรณ์ในรัชสมัยพระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัวมีการเสด็จออกสรงาพระพุทธมหามณีรัตนปฏิมากรที่วัดพระศรีรัตนศาสดารามด้วยและในรัชสมัยพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัวมีการเสด็จพระราชาเนินไปทรงสรงาและนมัสการพระพุทธปฏิมากราคัญเพิ่มขึ้นอีกหลายแห่ง เช่น ที่หอราช กรมานุสรณ์หอราชพงศานุสรณ์เป็นต้น

ภาพที่ ๓ ขบวนแห่สรงาพระพุทธรูป

ภาพที่ ๒ สรงาพระพุทธรูป

ประเพณีสงกรานต์ของราษฎรในแต่ละภาคส่วนใหญ่มีการปฏิบัติที่คล้ายคลึงกันมีแตกต่างกันในรายละเอียดดังนี้

ภาคกลาง ก่อนถึงวันสงกรานต์มีการาความสะอาดบ้านเรือน เตรียมเสื้อผ้าเครื่องนุ่งห่ม ใหม่าหรับใช้นุ่งในวันสงกรานต์ก่อนวันสงกรานต์หนึ่งวันถือเป็นวันสุกดิบมีการเตรียมอาหารและข้าวของเพื่อถวายพระสงฆ์ในวันสงกรานต์พอถึงวันสงกรานต์ตอนเช้าตรู่มีการตักบาตรหรือาอาหารไปถวายพระสงฆ์ที่วัดประเพณีสงกรานต์จึงมีส่วนาให้เกิดการรวมญาติ เพื่อช่วยกันเตรียมอาหารเตรียมของถวายพระและร่วมกันาบุญอุทิศส่วนกุศลให้ญาติที่ล่วงลับไปแล้ว บางแห่งมีการาบุญกลางบ้านเป็นการาบุญร่วมกันของสมาชิกในชุมชนในวันเนาบางแห่งก็มีการาบุญเลี้ยงพระเพลเสร็จแล้วนิมนต์พระสงฆ์รับาสรงจากชาวบ้าน(www.xing528.com)

ในวันเถลิงศกขึ้นปีใหม่ มีการสรงาพระพุทธรูและรดาหัวผู้ใหญ่เพื่อแสดงความกตัญญูกตเวทีข้าวของที่ใช้ในการรดาโดยทั่วไปมักเป็นผ้านุ่งผ้าห่มหรือผ้าเช็ดตัว มีดอกไม้หรือมาลัยดอกไม้สดและาอบาหอม ก่อนจะรดาจะแสดงการคารวะก่อน แล้วจึงขออนุญาตรดาลงที่มือหลังจากนั้นจึงมอบผ้าหรือข้าวของที่เตรียมไว้ไปให้แล้วนั่งพนมมือไหว้ขณะผู้ใหญ่กล่าวาให้พรวันเถลิงศกนี้ถือว่าเป็นวันมงคลต้องระมัดระวังการพูดจาให้พูดแต่สิ่งที่ดีๆจะได้เป็นมงคลแก่ตัว ชาวบ้านไปวัดเพื่อสรงาพระพุทธรูปในโบสถ์และวิหาร สมัยก่อนนิยมปล่อยนกปล่อยปลา หลังจากนั้นจึงเป็นการเล่นสาดาและมีการละเล่นรื่นเริงกัน ที่กรุงเทพมหานคประชาชนนิยมไปตักบาตรที่สนามหลวง ทางการได้จัดให้มีการแห่พระพุทธสิหิงค์จากพิพิธภัณฑสถานแห่งชาติไปถึงวงเวียนใหญ่แล้วให้วนกลับามาประดิษฐานที่สนามหลวง เพื่อให้ประชาชนนมัสการและสรงานอกจากนี้ยังมีแหล่งเล่นสาดาสงกรานต์ที่จัดาหรับนักท่องเที่ยว เช่น บริเวณถนนข้าวสาร เป็นต้น

ภาคเหนือ ชาวล้านนาเรียกประเพณีสงกรานต์ว่า ปเวณีปีใหม่ ปฏิทินโหราศาสตร์ของชาวล้านนา ถือเอาวันที่พระอาทิตย์เคลื่อนจากราศีมีนเข้าสู่ราศีเมษเป็น “วันสังกรานต์ล่อง” (ออกเสียงว่า วันสังขานล่อง) ในวันนี้จะมีการาความสะอาดบ้านเรือนให้สะอาดบรรดาสตรีนิยมสระผมโดยหันศีรษะไปทางทิศที่าหนดในแต่ละปี นิยมสวมเสื้อผ้าใหม่ มีการาพระพุทธรูปและเครื่องรางของขลังต่างๆ มาาระและสรงาอบาหอม โดยใช้าขมิ้นส้มป่อย ในบางจังหวัดมีการแห่พระพุทธรูปาคัญไปให้ประชาชนนมัสการและสรงา เช่น จังหวัดเชียงใหม่มีการแห่พระพุทธรูปาคัญ ได้แก่ พระพุทธสิหิงค์พระเจ้าฝนแสนห่า พระเสตังคมณีพระดับไฟ พระอุปคุตจากวัดต่างๆ รวมทั้งรูปปั้นครูบาศรีวิชัยแห่ไปตามถนนสายต่างๆให้ประชาชนนมัสการและสรงาวันต่อมาคือวันเนาทางล้านนาเรียกว่า “วันเน่า”ห้ามการด่าทอทะเลาะวิวาท เชื่อว่าจะาให้เกิดอัปมงคล วันเนานี้เป็นวันเตรียมงาน เรียกกันว่า“วันดา”ชาวบ้านจะซื้อของกินของใช้เพื่อใช้ในวันเถลิงศก ตอนบ่ายมีการขนทรายเข้าไปก่อเป็นเจดีย์ทรายที่วัด มีการตัดกระดาษเป็นธงสีต่างๆ เรียกว่า“ตุง” าหรับปักที่เจดีย์ทรายในวันรุ่งขึ้น

วันเถลิงศกซึ่งเรียกว่า“วันพญาวัน”เป็นวันที่มีการาบุญทางศาสนา ผู้คนจะารับอาหารคาวหวานไปาบุญถวายพระที่วัดเรียกกันว่า “ทานขันข้าว”เพื่ออุทิศส่วนกุศลให้บรรพบุรุษและญาติมิตรผู้ล่วงลับไปแล้ว มีการาธงที่าจากกระดาษสีต่างๆ ไปปักตามเจดีย์ทรายนิยมาไม้ง่ามไป้าต้นโพด้วยถือเป็นการ้าจุนศาสนาให้ยืนยาวต่อไปในวันนี้พระสงฆ์จะแสดงธรรมเทศนาเมื่อถวายภัตตาหารเพลเสร็จแล้วมีการสรงาพระพุทธรูป พระเจดีย์รวมทั้งสรงาพระภิกษุเจ้าอาวาสด้วย ตอนบ่ายจึงไปคารวะผู้ใหญ่ ได้แก่บิดามารดา ปู่ย่าตายาย ผู้เฒ่าผู้แก่ที่ตนเคารพนับถือ เรียกกันว่าไป“าหัว”ผู้ใหญ่ ทางล้านนาถือว่าเป็นการไปขอขมาลาโทษหรือขออโหสิกรรม เนื่องจากอาจได้ประพฤติอันไม่สมควรต่อผู้ใหญ่ดังกล่าวผู้ใหญ่จะรับเอาของที่ามามอบให้ใช้มือจุ่มลงในาขมิ้นส้มป่อยแล้วลูบที่ศีรษะของตนแล้วกล่าวอโหสิกรรมให้ก่อนแล้วจึงให้พรในวันนี้มักจะมีการาดอกไม้ธูปเทียนและาขมิ้นส้มป่อยไปาหัวพระพุทธรูปาคัญของเมือง และไป “าหัวกู่”คือ ไปไหว้สถูปที่บรรจุอัฐิบรรพบุรุษ หลังจากนั้นจึงเป็นการเล่นสาดากันในวันที่สี่เรียกว่า “วันปากปี” ถือเป็นวันเริ่มต้นของปีใหม่มีการไปาหัววัดคือเจ้าอาวาสวัดอื่นที่อยู่ใกล้เคียงบางแห่งอาจมีพิธีส่งเคราะห์บ้าน หมายถึงส่ง เคราะห์หมู่บ้าน วันที่ห้าเรียกว่า “วันปากเดือน” ถือเป็นวันเริ่มเดือนใหม่ การไปาหัวผู้ใหญ่และการเล่นสาดายังมีอยู่ในวันปากปีและวันปากเดือน

ภาพที่ ๔ ปักตุง จังหวัดเชียงใหม่

ภาคอีสานเรียกประเพณีสงกรานต์ว่า “บุญสงกรานต์”หรือ“บุญเดือนห้า”เรียกวันที่ ๑๓ เมษายนว่า “มื้อสงกรานต์ล่อง”หรือ“มื้อสงกรานต์พ่าย”เรียกวันที่ ๑๔ เมษายนว่า “มื้อเนา” และเรียกวันที่๑๕ เมษายนว่า “มื้อสงกรานต์ขึ้น” ชาวอีสานนิยมฉลองสงกรานต์ต่อเนื่องไป๗ วัน บางแห่งถึง ๑๕ วัน ถือว่าการรื่นเริงมีใจเบิกบานสนุกสนานร่วมกันาบุญากุศลในวันสงกรานต์เป็นนิมิตอันดีที่จะได้รับโชคชัยประสบความาเร็จในปีใหม่ก่อนถึงงานบุญสงกรานต์จะมีการเตรียมสถานที่ล่วงหน้า เช่น จัดาหอสรง โดยสร้างเป็นศาลาขนาดย่อมเพื่อาพระพุทธรูปมาประดิษฐานไว้ บางแห่งมีการารางรินาหรับให้ชาวบ้านรดาไปสรงพระพุทธรูป ในมื้อสงกรานต์ล่อง ชาวอีสานจะาความสะอาดบ้านเรือน ตลอดจนหิ้งบูชาผีประาบ้านซึ่งเรียกกันว่า “ของรักษา”การปัดกวาดาความสะอาดในวันนี้ถือว่า เป็นการปัดกวาดสิ่งอัปมงคลออกไปด้วยหากผู้ใดไม่ามักถือกันว่า เป็นการปัดกวาดสิ่งอัปมงคลออกไปด้วย หากผู้ใดไม่ามักถือกันว่าจะไม่มีโชคลาภามาหากินไม่ขึ้นตลอดปีใหม่

ในมื้อเนาชาวบ้านจะแต่งกายสวยงามและาอาหารไปตักบาตร ที่วัด เมื่อถวายภัตตาหารพระสงฆ์เสร็จแล้วต่างขอพรจากพระภิกษุผู้ใหญ่สรงาพระพุทธรูปด้วยาอบาหอม โดยรดไปตามรางริน หนุ่มสาวมักรวมกลุ่มไปรดาขอพรผู้ใหญ่บางทีมีการจัดาบายศรีสู่ขวัญผู้ใหญ่ด้วย หลังจากนั้นก็เล่นรดากันเอง กลางคืนมีการมาร่วมกันสวดมนต์เย็นและฟังธรรม หนุ่มสาวอาจจับกลุ่มเล่นกีฬาพื้นบ้านเช่น สะบ้า บางทีมีมหรสพ เช่น หมอา ในมื้อสงกรานต์

ชาวบ้านไปาบุญตักบาตรอีก หลังจากนั้นก็เล่นสาดากัน บาง หมู่บ้านจัดงานรื่นเริง บางกลุ่มเซิ้งไปตามหมู่บ้านเพื่อเรี่ยไรปัจจัยไทยทานถวายวัดงานบุญสงกรานต์จึงมีกิจกรรมดังกล่าวทุกวัน คือ มีทั้งงานบุญกุศลและงานรื่นเริงสนุกสนานระหว่างชาวบ้าน การสรงาพระพุทธรูปนิยมาต่อเนื่องจนกว่าจะสิ้นสุดงานบุญสงกรานต์แต่ละท้องถิ่นอาจาหนดระยะเวลาไม่ตรงกัน

ภาพที่ ๕ ประเพณีสงกรานต์ภาคอีสาน

ภาคใต้ มีประเพณีการขึ้นปีใหม่ในช่วงสงกรานต์เรียกกันว่า “วันว่าง”ถือว่า ต้องว่างเว้นจากการาการงานทุกชนิด เช่น ว่างเว้นจากการซ้อมข้าว การสีข้าวสารการออกหาปูปลา ห้ามตัดผมตัดเล็บ ตัดรานต้นไม้กิ่งไม้ ห้ามฆ่าสัตว์ทุกชนิดห้ามขึ้นต้นไม้ ห้ามเฆี่ยนตีลงโทษคนหรือสัตว์ นอกจากนี้ต้องประกอบการกุศลมีการตักบาตร ฟังธรรมเทศนา สรงาพระพุทธรูป ปล่อยนกปล่อยปลา แสดงความกตัญญูกตเวทีต่อผู้ใหญ่ จัดหาผ้าใหม่ให้ผู้ใหญ่และอาบา “สระหัว”ให้ผู้ใหญ่และขอพรจากผู้ใหญ่ ประเพณีวันว่างกระากัน ๓ วัน ตรงกับวันที่๑๓-๑๕ เมษายน

ก่อนถึงวันว่างการงานสิ่งใดที่คั่งค้างต้องเร่งาให้เสร็จ เตรียมข้าวของาหรับาบุญ จัดหาเสื้อผ้าใหม่าหรับใส่ในวันว่าง ก่อนถึงวันที่ ๑๓ เมษายนประมาณ ๒-๓ วัน มีการาความสะอาดบ้านเรือน จัดเก็บเครื่องมือเครื่องใช้เช่น ไถ คราดจอบ เสียม วางให้เป็นระเบียบเป็นที่เป็นทางต้องตัดผมตัดเล็บให้เรียบร้อย เมื่อถึงวันว่าง ทุกคนต้องาจิตใจให้เบิกบานแจ่มใส พยายามประกอบกรรมดีทั้งทางกาย วาจาและใจ ตื่นแต่เช้าตรู่ แต่งกายด้วยเสื้อผ้าใหม่ตักบาตรเสร็จแล้ว เตรียมารับกับข้าวไปาบุญถวายภัตตาหารเพลที่วัด นอกจาการับกับข้าวสิ่งที่าไปวัดด้วยคือ มัดรวงข้าวที่จะาไปาขวัญข้าวร่วมกันที่วัด เรียกว่า “าขวัญข้าวใหญ่” เพื่อเป็นสิริมงคลแก่การามาหากินภายหน้าสืบไป เมื่อทุกครัวเรือนารับกับข้าวและรวงข้าวมาพร้อมกันที่วัดแล้วจึงเริ่มพิธีทางศาสนาร่วมกันสวดมนต์รับศีล ฟังเทศน์ถวายภัตตาหารเพล เสร็จแล้วนิมนต์พระสงฆ์บังสุกุลกระดูกปู่ย่าตายาย ถ้าไม่มีกระดูกของบรรพบุรุษก็ใช้วิธีเขียนชื่อของบรรพบุรุษใส่กระดาษแทนเพื่ออุทิศส่วนกุศลให้แล้วนิมนต์พระประกอบพิธีาขวัญข้าว ถ้ามีการสร้างที่บรรจุอัฐิาหรับเก็บกระดูกของบรรพบุรุษซึ่งเรียกว่า “บัว” ไว้ในวัดนั้นก็จะแยกย้ายกันไปเคารพสักการะ ต่อจากนั้นมีการสรงาพระพุทธรูปโดยอัญเชิญมาประกอบพิธีร่วมกันในบริเวณวัดประเพณีการสระหัววันว่างแก่พระภิกษุหรือผู้เฒ่าผู้แก่ที่มีผู้เคารพนับถือมากๆ มักจัดาสถานที่เป็นพิเศษ ผู้ที่จะไปแสดงความเคารพจะเตรียมาผสมเครื่องหอมไปด้วยคนละขัน เมื่อเสร็จพิธีสระหัววันว่างก็จะเป็นเรื่องของการละเล่นสนุกสนานรื่นเริง อาจมีการเล่นสาดากันบ้าง แต่ไม่เล่นกันมากมายอย่างในภาคเหนือและภาคอีสาน

ประเพณีสงกรานต์ ยังเป็นประเพณีาคัญ ของชาวไทยเชื้อสาย รามัญหรือมอญด้วย ดังจะเห็นได้จากการปฏิบัติของชาวไทยเชื้อสาย รามัญที่อยู่รวมกันเป็นชุมชนใหญ่ในภาคกลางหลายแห่ง เช่น าเภอพระประแดง จังหวัดสมุทรปราการาบลบางกระดี่ าเภอบางขุนเทียน าบลบางไส้ไก่าเภอบางกอกใหญ่ กรุงเทพมหานคร และจังหวัดปทุมธานี ก็มีประเพณีสงกรานต์สืบทอดมาแต่โบราณด้วย สิ่งที่ชาวไทยเชื้อสายรามัญและมอญนิยมปฏิบัติในประเพณีสงกรานต์คือ การาข้าวแช่เป็นอาหารพิเศษาหรับถวายพระสงฆ์และบูชาเทวดามีการเล่นสาดาและมีการละเล่นรื่นเริงเช่น เล่นสะบ้า เป็นต้น

คุณค่าของประเพณีสงกรานต์

ประเพณีสงกรานต์ เป็นประเพณีที่งดงามมีคุณค่าสาระเป็นช่วงเวลาแห่งการรักษากายใจและสิ่งแวดล้อม การแสดงความกตัญญูต่อผู้มีพระคุณและแสดงความปรารถนาดีความเอื้ออาทรต่อญาติมิตรและแขกผู้มาเยือน นับเป็นประเพณีแห่งการสมานสามัคคีทั้งในครอบครัวและชุมชน สังคมไทยจะเป็นสังคมที่ร่มเย็นและน่าอยู่ต่อไปอีกนาน หากเราฉลองสงกรานต์ด้วยความเข้าใจและช่วยกันสืบทอดคุณค่าสาระาคัญของประเพณี

การเปลี่ยนแปลง

ประเทศไทยรับเอาประเพณีการขึ้นปีใหม่และเปลี่ยนศักราชวันที่ ๑มกราคม ตามประเทศตะวันตกมาตั้งแต่ พ.ศ.๒๔๘๒ประเทศต่างๆ ประเพณีการขึ้นปีใหม่ในวันที่๑ มกราคม มีความาคัญมากขึ้นตามาดับราชการหยุดงานในวันที่ ๓๑ ธันวาคมและวันที่ ๑ มกราคม ห้างร้านมีการตกแต่งร้านให้สวยงามเป็นพิเศษ ขายของขวัญและบัตรอวยพรปีใหม่กันอย่างคึกคักประกอบกับการถ่ายทอดความรู้ในเรื่องสาระของประเพณีสงกรานต์ขาดความต่อเนื่อง คนรุ่นใหม่จึงให้ความาคัญต่อการแสดงความปรารถนาดีต่อกันในช่วงการขึ้นปีใหม่สากลมากกว่าในช่วงสงกรานต์มุ่งเน้นเฉพาะการเล่นสาดาเพื่อความสนุกสนานรื่นเริง มีการจัดกิจกรรมเพื่อความบันเทิงและเพื่อธุรกิจการท่องเที่ยว เช่นมีการจัดขบวนแห่นางสงกรานต์และประกวดนางสงกรานต์การให้ความาคัญต่อการาบุญทางศาสนาการแสดงความกตัญญูต่อญาติผู้ใหญ่และการแสดงความปรารถนาดีต่อกันลดลงยังเหลืออยู่บ้างในชนบท มีการเล่นสาดากันรุนแรงและโดยไม่สนใจว่าผู้ถูกสาดามีความสนิทสนมหรือเต็มใจให้สาดหรือไม่ก็มีการดื่มสุราจนเมามายขาดสติ บางครั้งก็ล่วงละเมิดสตรีก่อการทะเลาะวิวาทและาให้เกิดอุบัติเหตุจนถึงกับเสียชีวิต

การสืบสานประเพณีสงกรานต์

สิ่งที่ควราอย่างยิ่งก็คือ การเผยแพร่ให้ความรู้แก่เยาวชน ตลอดจนนักท่องเที่ยวต่างชาติเข้าใจในสาระความหมายอย่างชัดเจน พร้อมทั้งแนะแนวทางที่ควรประพฤติปฏิบัติในประเพณีสงกรานต์การเผยแพร่ให้ความรู้เช่นนี้ ควราอย่างต่อเนื่องและสาเสมอ การรักษาและสืบทอดความงดงามของสาระาคัญของประเพณีสงกรานต์นั้น น่าจะเป็นหน้าที่ของคนไทยทุกระดับในสังคมเริ่มตั้งแต่ครอบครัว โรงเรียน ชุมชน องค์กรต่างๆของรัฐและเอกชน ตลอดจนสื่อมวลชนทุกแขนง

แนวทางที่พึงปฏิบัติในประเพณีสงกรานต์

๑.การาเพ็ญกุศลด้วยการตักบาตรหรือาอาหารไปถวายพระที่วัด รักษาศีล และสรงาพระพุทธรูป ถือว่าเป็นการรักษากายใจให้สะอาดผ่องแผ้วเพื่อเป็นสิริมงคล ทั้งยังเป็นการสืบทอดและานุารุงพระพุทธศาสนา

๒.การาบุญอุทิศส่วนกุศลให้แก่บรรพบุรุษ เพื่อแสดงความกตัญญูต่อผู้มีพระคุณที่ล่วงลับไปแล้ว

๓.การรดา เพื่อแสดงความเคารพและความกตัญญูกตเวทิตาต่อผู้มีพระคุณเช่น ลูกกับพ่อ-แม่-ปู่-ย่า-ตา-ยาย พุทธศาสนิกชนต่อพระภิกษุสงฆ์ ผู้ใต้บังคับบัญชากับผู้บังคับบัญชา ชาวบ้านกับหัวหน้าชุมชน เป็นต้น

๔.การเล่นรดาและสาดา เพื่อเชื่อมความสัมพันธ์ระหว่างญาติพี่น้องและมิตรสหาย ด้วยการเล่นอย่างสุภาพพร้อมกับกล่าวาอวยพรให้มีความสุข านึงถึงสวัสดิภาพและความปลอดภัยทั้งของตนเองและผู้อื่น ไม่เล่นลาดารุนแรงหรือเล่นเกินขอบเขต ไม่ดื่มสุรา ตลอดจนแต่งกายให้เหมาะสม

๕.การเล่นรื่นเริงต่าง ๆ เพื่อความสนุกสนานและเพื่อเชื่อมความ สามัคคีรวมทั้งเป็นการสืบสานวัฒนธรรมที่มีคุณค่าต่อสังคมให้คงอยู่ต่อไปอนึ่งการปล่อยนกปล่อยปลา น่าจะเป็นการาร้ายสัตว์และสร้างบาปมากกว่าการาบุญตามคติทางพระพุทธศาสนาสมควรจะพิจารณายกเลิก

เอกสารอ้างอิง

กรมส่งเสริมวัฒนธรรม.(๒๕๕๔).ประเพณีสงกรานต์.(พิมพ์ครั้งที่ ๒).กรุงเทพฯ: โรงพิมพ์ชุมนุมสหกรณ์ การเกษตรแห่ประเทศไทย.

词汇

กฎมณเฑียรบาล宫廷法规 บวงสรวง 祭祀

ไตรโลกนาถ(宗教)三界的庇护 ปฏิสนธิ 投胎

จลุศกัราช小历 ปราสาท宫殿

นกัเลงสรุา 酒徒 ชมพทูวีป印度(古称)

าหยาบชา้ 庸俗

ศกัราชใหม่新纪元 พรหม大梵天

สนัสกฤต梵语 บริจาริกา女仆

ราศีมีน双鱼宫 สงัเวย祭祀

ราศีเมษ白羊宫 ประทกัษิณ 右边、顺

านาย预兆 时针

หินยาน 南传上座部佛教 โหร星象家

ประเสริฐ 高尚、卓越 ามนัเนย印度酥油

ภกัษาหาร 食物 ปัทมราค红宝石

มรกต 绿宝石

免责声明:以上内容源自网络,版权归原作者所有,如有侵犯您的原创版权请告知,我们将尽快删除相关内容。

我要反馈